Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรู้สติ การรับความรู้สึก และการเคลื่อนไหว, นางสาวศศิวิมล จอมทิพย์…
การรู้สติ การรับความรู้สึก และการเคลื่อนไหว
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาท
เซลล์ประสาท (Nerve cell , Neuron) และการส่งสัญญาณ ประสาท(
Nerve Impulse)
เซลล์ประสาท(Neurons) เป็นหน่วยทำงานที่ทำหน้าท่ีควบคุม การทำงานของร่างกาย
-เน้ือเยื้อประสาท (Nervous tissue)
-เซลล์ประสาท (Neurons)
-เซลล์พี่เลี้ยงหรือ เซลล์ค้ำจุน (Neuroglia)
ส่วนประกอบเซลล์ประสาท (Nerve cell , Neuron)
ตัวเซลล์ประสาท(Cell body ; Soma )
แขนงประสาท (Cell Processes)ประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่นาสัญญาณประสาทเข้าสู่ตัว เซลล์ เรียกว่า เดนไดรต์( Dendrites) และส่วนที่ทำหน้าที่นำสัญญาณประสาทออกจากเซลล์
เรียกว่า แอกซอน(Axon) โดยส่วนที่มีเยื่อหุ้มไมอิลีน เรียกว่า Myelinated axon และที่ไม่มีเยื่อหุ้มไมอิลีน เรียกว่า Unmyelinated axon
1.เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron)
เซลล์ประสําทประสานงาน(Interneuron)
เซลล์ประสําทสั่งกําร(Motor neuron)
เซลล์พี่เลี้ยงหรือเซลล์ค้ำจุน(Neuroglia) เป็นหน่วยช่วยสนับสนุนการทางานของเซลล์ ประสาท
เซลล์ไมโครเกลียล(Microglial cell) ทำหน้าที่ย่อยสลายสิ่งแปลกปลอมท่ีเข้ามาใน ระบบประสาท
เซลล์เอเพนไดมัล(Ependymal cell) ทำหน้าที่สร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสัน หลัง(Cerebrospinal fluid : CSF)
แอสโตรไซด์(Astrocyte) ทำหน้าที่หลายอย่าง เช่น ควบคุม ความเข้มข้นของอิเลตโตรไลต์ ความสมดุลกรด-ด่าง
เซลล์โอลิโกเดนโดรไซด์ (Oligodendrocyte, Schwann cell) ทำหน้าที่สร้างเยื่อหุ้ม เส้นประสาทนิวริเลมมา (Neurilemma) และเยื่อหุ้มไมอิลีน (Myelin sheath)
บริเวณประสานประสาท ตัวรับและสาร สื่อประสาท
บริเวณประสานประสาท (Synapse) คือ บริเวณที่มีการ สื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท หรือเซลล์ประสาทกับเซลล์เป้าหมาย อาจถูกส่งผ่านSynapse โดยตรง หรือถูกส่งโดยสารสื่อประสาท
1.ไซแนปสเ์คมี(Chemicalsynapse)
ไซแนปสไ์ฟฟ้า (Electrical synapse)
ตัวรับ(Receptor)เป็นโปรตีน ที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ หรือในไซโทพลาสซึมหรือ นิวเคลียส ทจี่ะเชื่อมต่อกับโมเลกุลเฉพาะ ซึ่งเรียกว่า ลิแกนด์ (ligand) เช่น สารสื่อประสาท, ฮอร์โมน หรือสารประกอบ อื่นๆ และทาให้เกิดการเริ่มต้น ตอบสนองของเซลล์ต่อ ลิแกนด์นั้นๆ
สารสื่อประสทา(Neurotransmitter)เป็น สารเคมีที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นในเซลล์ประสาท และเก็บไว้ในถุงหุ้ม(Neurotransmitter vesicle)
โมโนเอมนี (Monoamines) เป็นสาร สื่อประสาท 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ แคที โคลามีน(catecholamine) และซีโร โตนีน(serotonin)า
กรดอะมิโน(Amino acid) เป็นสาร สื่อประสาทที่มีทั้งชนิดกระตุ้นการ ทางาน และยับยั้งการทางานของ เซลล์เป้าหมาย เช่น ไกลซีน(glycine) Gramma aminobutyric acid(GABA)
อะเซทิลโคลีน (Acetylcholine; Ach) เป็นสารสื่อประสาทตัวแรกที่ถูก ค้นพบใน CNS
Nerve Action Potential การส่งสัญญาณประสาท(Nerve Impulse)
1.ศักยะงานวิ่งมาถึง
2.เซลล์ก็จะเปิดช่อง แคลเซียมที่เปิดปิด โดยศักย์ไฟฟ้า (voltage-gated calcium channel)
3.ไอออนแคลเซียม ไหลเข้ามาในปลาย แอกซอน
4.แคลเซียมจะทำให้ ถุงไซแนปส์ (synaptic vesicle) จำนวนหน่ึงท่ีเต็มไปด้วยโมเลกุล สารสื่อประสาท เชื่อมเข้ากับเยื่อ หุ้มเซลล์
6.สารจะแพร่ข้ามร่องไซแนปส์และออกฤทธิ์กับตัวรับของนิวรอนกลังไซแนปส์
7.ระดับแคลเซียมที่สูงข้ึนในไซโทพลาซึมที่ปลายแอกซอน (axon terminal) ยังจุดชนวนให้ไมโทคอนเดรียดูดซึมแคลเซียม (mitochondrial calcium uptake) ซึ่งก็จะเริ่มกระบวนการเมแทบอลิซึมทางพลังงานของไมโทคอนเดรียเพื่อ ผลิดอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP) เพื่อเป็นพลังงานดารงการสื่อประสาท
5.ปล่อยสารเข้าไปในร่องไซแนปส์ (synaptic cleft)
Nerve Pathway
Spinothalamic tract pathway
เป็นวิถีประสาททรับความรู้สึกเกี่ยวกับอณุหภูมิความเจ็บปวดและ สัมผัสอย่างหยาบ(Crude touch)
Lateral tract pathway เกี่ยวกับอุณหภูมิ โดยมี Krause’s copuscle ตัวรับรู้ความเย็น ส่วน Ruffini type I ตัวรับรู้การเพิ่ม อุณหภูมิ และตัวรับความเจ็บปวดมี Nociceptor ที่ถูกกระตุ้นด้วย สารเคมีพวกฮีสตามีน(Histamin) แบตีไคนีน(Bradykinin) พลอสตา แกลนดิน(Prosaglandin)
Anterior tract pathway เกี่ยวกับการสัมผัสอย่างหยาบ(Crude touch)
Dorsal column- medial lemniscus tract
เป็นวิถีประสาทที่รับรู้เกี่ยวกับการรับความรู้สึกจากการสัมผัส (tactile, touch)ได้แก่ การสั่น(Vibration), คัน (Itching),กด(Pressure)
การทรงตัว
ตำแหน่งของร่างกาย(Proprioception) โดย มีตัวรับอยู่ในกล้ามเนื้อ(Muscle spindle stretch receptor) และเอ็น(Golgi tendon organ) ซึ่งตอบสนองของกล้ามเนื้อและเอ็น
-การเคลื่อนไหวของข้อต่อ(Kinesthesia) โดย มีตัวรับอยู่ในกระดูก
Retinohypothalamic tract
Posterior column-medial lemniscus pathway
Pyramidal/corticospinal tract
ความผิดปกติของการรู้สติ การรับความรู้สึก การเคลื่อนไหว และการนอนหลับ พักผ่อน กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ ปฏิกิริยาและการปรับตัว
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ ปฏิกิริยา และการปรับตัวของระบบรับความรู้สึก (Sensory system)
กลไกของระบบรับความรู้สึก ได้แก่ ตัวกระตุ้นจะกระตุ้นตัวรับความรู้สึก (sensory receptor) ในอวัยวะรับความรู้สึกหรือ อวัยวะรับสัมผัส (sensory organ) ที่เป็นส่วนหนึ่งของเอ๊กซอน(AXON)ของปลายประสาทรับความรู้สึก ของระบบประสาทส่วนปลาย(Peripheral nervous system : PNS)
จึงทำให้มีการสร้างกระแสประสาท(Nerve Impulse) ส่งต่อเข้ามาในระบบ ประสาทส่วนกลาง(Central nervous system : CNS) ให้แปลผลการรับ ความรู้สึกน้ันๆ เพื่อการตอบสนองต่อสิ่งที่มากระตุ้น
การรับความรู้สึกทั่วไป และการรับความรู้สึกพิเศษ
การรับความรู้สึกท่ัวไป (Somatic sensation) หมายถึง การรับ ความรู้สึกทั่วๆ ไปของร่างกายท้ัง ภายใน และภายนอก
การรับความรู้สึก พิเศษ (Special Sensation) ได้แก่ การมองเห็น การได้รับกลิ่น การได้รับรสชาติ อาหาร การได้ยินเสียง และการรับรู้สมดุล ของร่างกาย (การทรงตัว) การเคลื่อนไหว
ระบบประสาท รับความรู้สึกทั่วไป (Somatic sensation)
การรับความรู้สึก เก่ียวกับอุณหภูมิ (temperature)
การรับความรู้สึก จากกล้ามเนื้อ และข้อต่อ (proprioception)
การรับความรู้สึก จากการสัมผัส (touch)
การรับความรู้สึก ของอวัยวะ ภายใน
(visceral organ)
การรับ ความรู้สึก
เกี่ยวกับความ เจ็บป่วย (pain)
การรับความรู้สึกพิเศษ(Special Sensation)
การมองเห็น
แสงผ่านเข้าในลูกตา
ตกกระทบที่เรตินา
เซลล์รูปแท่งและกรวยทา หน้าที่ส่งกระแสประสาท
ผ่านเซลล์ประสาทชั้นต่างๆที่ อยู่ในเรตินาไปยังOptic nerve(CN II)
ทอดทะลุไปสู่สมองส่วน Cerebral cortex เพื่อแปล สัญญาณให้เห็นภาพ
ความผิดปกติของการ มองเห็น(Vision Dysfunction)
ความผิดปกติท่ีพบบ่อย ได้แก่ ต้อกระจก (Cataract), ต้อหิน (Glaucoma)
ตาบอดสี(color blindness)
ภาวะสายตาผิดปกติ(Refractive error) ได้แก่ สายสั้น(Myopia;nearsightedness) สายตายาว (Hypermetropia, farsightedness) สายตาเอียง(Astigmatism)
ความผิดปกติของโครงสร้างระบบประสาทกับการมองเห็น ได้แก่ Myasthenia Gravis(Extraocular muscleหนังตาตก กลอกตาไม่ได้ เห็นภาพซ้อน ), Cranial neve palsy(CN 3,4,6 ; Extraocular muscle) ) Keratitis(Cornea ตามัวมองไม่ชัด)
ความเสื่อมของ เยื่อบุตา ได้แก่ ต้อลม (Pinguecula) ต้อ เน้ือ(Pterygium
การได้ยินและการทรงตัว
มีการกระตุ้ย (Stimulation)เซลล์ขน (Hair cell)ใน Organ of corti
สัญญาณประสาทจะถูก ส่งผ่าน (Transmission)ของการได้ ยิน(Auditory pathway)
ไปที่สมองส่วนที่เก่ียวข้อง กับการได้ยินเพื่อแปล (Translation)เสียงและ คำพูดที่ได้ยิน
ความ ผิดปกติ ของการ
ได้ยิน
การได้ยินเสียงหึ่งในหู (Tinnitus)แบ่งเป็นได้ยินเฉพาะ ผู้ป่วยเอง(Tonal tinnitus) เนื่องจากถูกกลบโดยเสียงจาก สิ่งแวดล้อมและชนิดได้ยินทั้ง ผู้ตรวจและผู้ป่วย(Nontonal tinnitus)เกิดจากความผิดปกติของ ประสาทหูส่วนtinnitus สาเหตุมา จากเสียงฟู่จากหลอดเลือดบริเวณ คอ หรือAVM ในศีรษะ
สูญเสียการได้ยิน(Hearing loss)
Conductive hearing loss เกิดจากการขัดขวางการนำคลื่นเสียงผ่านช่อง หูเยื่อแก้วหูและกระดูกทั้ง 3ชิ้นสมอง(ผิดปกติส่วนStimulation)
การรักษา ได้แก่การให้ยาปฏิชีวนะ การผ่าตัดตกแต่ง
Sensoryneural hearing lossเกิดจากความผิดปกติของsensory receptor คือ hair cell และความผิดปกติของวิถีประสาทการได้ยินตั้งแต่ CNVIII จนถึงก้านสมอง(ผิดปกติส่วนTransmission)
การแก้ไข ได้แก่ ใช้เครื่องช่วยฟัง
Central hearing loss เกิดจากพยาธิสภาพที่ Auditory cortex ทำให้ไม่รับรู้เสียงที่จาเป็นต่อการได้ยิน จาเสียงไม่ได้ไม่เข้าใจความหมาย
การได้ยินดังกว่า ปกติ( Hyperacusis) เมื่อมีความผิดปกติ ของCNVII ทาให้ stapedius muscle ในหูช้ันกลางซ่ึงทา หน้าที่ปรับลดความ รุนแรงของคลื่น เสียง เสียหาย ทำ ให้ได้ยืนเสียงดัง กว่าเดิม
อาการและอาการแสดงของการเสียการและอาการแสดงของการเสียการทรงตัว
Unteadiness การเสียการทรงตัวแบบเสียศูนย์ เซ เนื่องจากปัญหาการยืน
• สาเหตุ ความผิดปกติของสมองหรือวิภปี ระสาทสั่งการหรือวิถีประสาทรับความรู้สึกจากกล้ามเนื้อ ข้อและกระดูกของ แขนขา นอกจากนี่อาจมาจากประสาทควบคุมการทรงตัวในหูชั้นในดว้ ย
Dizziness เป็นอาการไม่สบายอย่างมาก คิดอะไรไม่ออก สมองตื้อๆ อาการจากข้อ 1-3 รวมกัน
Vertigoเป็นความรู้สึกว่ามีการหมุนที่จริงแล้วไม่มีการหมุนใดๆเลย
• สาเหตุ เกิดพยาธิสภาพที่ระบบประสาทส่วนกลางและประสาทควบคุมการทรงตัวในหูชั้นใน
3.Lighteadedness มีอาการหวิวๆลอยๆคล้ายจะเป็นลม จะมีอาการเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ
• เนื่องจากเลือดไหลเวียนขึ้นไปที่สมองไม่ทัน
สาเหตุของการสูญเสียการทรงตัว
เกิดจากระบบการทรงตัวส่วนปลายหรือ ระบบประสาทควบคุมการทรงตัวในหูชั้นใน
ได้แก่ พยาธิสภาพในหู เช่น การอักเสบ
เกิดจากระบบประสาทส่วนกลาง
เช่น การขาดเลือดไปเลี้ยงสมองส่วนท่ี ควบคุมการทรงตัวหรือได้รับการ กระทบกระเทือน
การรับรส
การดมกลิ่น
ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Nervous System:ANS)
บทบําทสําคัญ คือ ควบคุมการทางานของร่างกายภายนอก อานาจจิตใจท่ีเกิดจากการกระตุ้นด้วยการเปลี่ยนแปลงของ ส่ิงแวดล้อมภายในและตอบสนองเกิดจากการทางานของ กล้าเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ
ไฮโปทําลํามัสควบคุมการทำงานของANS และต่อมไร้ท่อ เพื่อรักษาความคงสภาพของร่างกายไว้ โดยการทำงานของไฮโปทาลามัสอาศัยข้อมูลนำเข้าจาก โครงสร้างหลายส่วนประมวลและวิเคราะห์เป็นคำส่ังมา ควบคุมการทำงาน ANS อีกที
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ ปฏิกิริยา และการปรับตัวของ ระบบประสาทสั่งการ(Motor system) and higher brain function การเคลื่อนไหว การรู้สติ การนอนหลับ
Motor System ประกอบด้วย ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System: CNS)
หรือ Somatic Nervous System ระบบประสาทส่วนกลางทาหน้าที่ เป็นศูนย์กลางรับ ประมวลวิเคราะห์และแปลผลข้อมลู จากนั้นนาคาสั่งมายังอวยั วะเปา้ หมายซึ่งทางานภายใต้อานาจจิตใจ
การควบคุมการเคลื่อนไหว
มีการส่งผ่านสัญญาณประสาทจาก motor cortex สู่ motor unit ส้ินสุดที่ neuromuscular junction เพื่อให้เกิดการหดตัว ของกล้ามเนื้อ
มีการทางานของกระดูกในการเป็นแกนแข็งพยุงกล้ามเน้ือ เป็นคานสาหรับเคลื่อนที่ และการทำงานของข้อต่อในจุดหมุนให้กับกระดูก
มีการทางานของกล้ามเนื้อในการหดตัวและคลายตัวที่ ประสานกัน เพื่อขยับโครงกระดูกให้เคลื่อนท่ี
ความผิดปกติ ท่ีเกี่ยวข้องกับ การ เคลื่อนไหว
ความผิดปกติ ของประสาทส่ัง การตัวล่าง
(Lower motor neuron)
การทำงานของ กล้ามเน้ือ
(Muscle performance)
การส่งผ่าน ประสาทส่ังการ (Transmission in motor System)
การพักผ่อนนอนหลับและผล
กระทบของการนอนหลับผิดปกติ
การพักผ่อนนอนหลับและผลกระทบของการนอนหลับผิดปกติ
ระบบทที่คอยควบคุมการนอนหลับ
• มนษุ ย์มีความรู้สึกง่วงในช่วงเวลากลางคืน และตื่นในเวลากลางวันมี 2 ระบบคือ 1) ระบบการหลับ -ตื่น2) ระบบนาฬิกาชีวภาพ (circadian)
แบบแผนการ นอนหลับเปลี่ยนแปลง
-การนอนอยู่ในระดับ3เท่านั้น และมีจำนวนการตื่นบ่อย
สาเหตุการนอนไม่หลับเนื่องมาจาก ขาดการออกกกลังกาย นอนกลางวัน มากเกินไป และมีความวิตกกงัวลในเรื่อง ต่างๆสูงจนกระทั่งถึงอารมณ์เศร้า
ผลกระทบของการนอนหลับผิดปกติ
The effects of sleep deprivation
• Night 1: experience is uncomfortable, but tolerable
• Night 2: urge to sleep is greatest between 3 and 5 a.m.
• Night 3: complex information-processing is impaired
• Night 4: confusion, irritability, and micro-sleep occur
• Night 5: delusions may be experienced
• Night 6: depersonalisation and symptoms of sleep deprivation psychosis.
ความผิดปกติใน ระบบประสาทที่พบบ่อย
(NeuroPathology)
Stroke
อาการเดินเซ เดินตัวแข็งมือไม่ขยับหคือแกว่งหมุนตัวลำบาก มีเท้าตก การเดินก้าวสั้นๆและซอยถี่ (Scooping gait)
Parkinson
เกิดจากการเสียหน้าที่ Basal Ganglia ทำให้การหลั่งDopamin จากSubstaintia Nigraลดลง โดยเป็นความผิดปกติของการส่งผ่านของประสาทสั่งการ(Transmission in Motor system)
Myasthenia Gravis (M
a long-term neuromuscular disease that leads to varying degrees of skeletal muscle weakness. The most commonly affected muscles are those of the eyes, face, and swallowing. It can result in double vision,
drooping eyelids, trouble talking, and trouble walking. Onset can be sudden.
ภาวะสมองเสื่อม (Dementia)
มักทำให้เสียความคิดและความจำอย่างรุนแรงจนมผลต่อชีวิตประจำวัน ปัญหาทางอารมณ์ ปัญหาทางภาษา และการไร้แรงจูงใจที่จะทำอะไร
การบาดเจ็บที่ ศีรษะ(Traumatic brain injury)
การบาดเจ็บระยะที่2 (Secondary Head injury)
เป็นภาวะแทรกซ้อนหลังเกิด
การบาดเจ็บในระยะแรก มีก้อนเลือด ในชั้นสมองแต่ละชั้น(เช่น Epidural Hematoma) ภาวะความดันกะโหลกศีรษะ สูง(Intracranial pressure:IICP) ภาวะสมอง เคลื่อน(Brain Hernia)
•การบาดเจ็บระยะแรก(Primary Head injury)
เป็นการเกิดขึ้นทันทีที่มีการกระทำให้บาดเจ็บ อาจทำให้มีอาการ ถลอก ปวด บวม ฉีกขาด กะโหลกแตก/ยุบ
การประเมิน Glasgow Coma Scale
เป็นการประเมินการรู้สติ การตอบสนองต่อ สิ่งเร้าโดยมีคะแนนเต็ม 15 คะแนน
-การลืมตา(Eye movement) จะมีคะแนนตั้งแต่ 1-4
-การออกเสียง(Best Verbal command) จะมีคะแนนตั้งแต่ 1-5 แต่หากผู้ป่วยมีท่อช่วยหายใจจะเขียนเป็น VT,
-การเคลื่อนไหว(Motor response) 1-6
โดยการแปลผลเช่น E4V5M6
การแบ่งความรุนแรงเป็น
Mild HI คะแนน GCS 13-15 คะแนน Moderate HI คะแนน GCS 9-12 คะแนน Severe HI คะแนน GCS 3-8 คะแนน
การประเมิน
E=การตอบสนองของตา
M= การตอบสนองด้าน การเคลื่อนไหว
B=รีเฟลกซ์ของการ ทางานก้านสมองโดยการ ตรวจการตอบสนองของรู ม่านตา
R=ลักษณะการหายใจ
นางสาวศศิวิมล จอมทิพย์ UDA6380058