Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (increased intracranial pressure : IICP) -…
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
(increased intracranial pressure : IICP)
พยาธิสภาพ
สมองซึ่งอ่อนนุ่ม เลือดไหลอยู่ในวงจรปิดส่วนน้ำหล่อสมองไขสันหลัง สามารถไหลเวียนได้ทั่วสมอง ต่างก็บรรจุอยู่ในกะโหลกศีรษะที่แข็งแรงยืดหดไม่ได้ เมื่อมีการเพิ่มปริมาตรอย่างใดอย่างหนึ่งในสามอย่างนี้ ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของส่วนที่เหลืออยู่ ซึ่งเป็นกระบวนการซดเชยของร่างกาย (Compensation) ซึ่งมี 2 ขั้นตอน
ขั้นตอนแรก มีสิ่งเกินที่เพิ่มขึ้น 50-70 ม.ล. ร่างกายจะปรับตัว โดยการขยับเลื่อนของนํ้าไขสันหลัง ไหลออกจากโพรงสับอแรคนอยด์ของสมองและห้องสมองต่างๆ ลงไปยังโพรงสับอแรคนอย์ของไขสันหลัง เมื่อความดันในกะโหลกยังสูงเพิ่มขึ้น คอรอยด์เพลกซัสในห้องสมอง ก็จะลดการผลิตน้ำหล่อสมองไขสันหลังลง ในขณะเดียวกันก็จะเพิ่มการดูดซึมที่อแรคนอยด์วิลไลมากขึ้น
กลไกอันที่สอง** คือ การลดปริมาตรเลือดไหลเวียนในสมอง (CBV) โดยเลือดดำจะถูกเปลี่ยนทิศทางการไหลออกจากสมองส่วนที่มีพยาธิสภาพเข้าไปในแอ่งเลือดที่อยู่ไกลออกไปยังผลให้การไหลเวียนเลือดทั่วๆ ไปลดลง สมองจึงขาดเลือดไปเลี้ยง
สาเหตุ
Increases in brain volume
การเพิ่มขึ้นของปริมาณสมอง
อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ
stroke
reactive edema
tumor
abscess
Increases in blood
hematoma
vasodilation
hypoventilation
hypercarbia / hypoxia
venous outflow obstructions
Increases in CSF
CSF pathway obstruction
Increase CSF production
Decrease CSF absorbtion
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ
อาเจียนพุ่ง
ตัวมัว เห็นภาพซ้อน
content ของความรู้สึกตัวด้วยการซักถาม orientation ต่อ บุคคล เวลา ระดับความรู้สึกตัวลดลง Glasgow coma score และประเมิน และสถานที่ ผิดปกติ
มีไข้สูง
Cushing’s triad (ชีพจรช้า หายใจช้า ความดันโลหิตสูง)
Cheyne-Stokes respiration
widened Pulse pressure > 60 mmHg.
Pupil เปลี่ยน ตอบสนองต่อแสงผิดปกติ
ตาพร่ามัว และเส้นประสาทตาบวม (papilledema) ตรวจพบ papilledema ได้นั้นผู้ป่วยจะต้องมีภาวะ IICP มาแล้วอย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติ
การบาดเจ็บ/เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วย อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
ประเมินระดับความรู้สึกตัว (LOC)
Glasgow Coma Scale (GCS)
Vital signs Cushing's triad
pupil reaction, size, conjugate
การพยาบาล
1) จัดท่าศีรษะสูง 30 องศา
2) หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทำให้เพิ่มความดันในช่องอกแรงดัน เช่น การมีลมหรือเลือดในช่องอก หลอดลมตีบแคบ ท่อช่วยหายใจพับงอ หรือ การใช้ PEEP มากเกินไป
3.ให้ออกซิเจน
4) ดูแล Temp.
5) IV fluid ประเมิน intake & output
6) ดูแลให้ได้รับยา
Osmotic/diuretic drug
Steroid
Barbiturate
การรักษา
รักษาสาเหตุที่ทำให้ความดันในกะโหลกเพิ่ม เช่น ผ่าตัดเอาก้อนเลือดหรือเนื้องอกออก หรือแก้ไขภาวะติดเชื้อ
Burr hole
ventriculostomy
ลดความดันในกะโหลกศีรษะ
ให้ยาบาร์บิทุเรตเพื่อทำให้หลอดเลือดในสมองตีบ
ให้คอร์ติโคสเตอรอยด์ 5-10 มก. เข้าเส้นทุก 6 ชั่วโมง
จัดให้มีออกซิเจนไปเลี้ยงสมองอย่างเพียงพอ
ให้สารนํ้าที่มีความเข้มข้นมากทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาขับปัสสาวะเช่น ลาซิกส์ 40-120 มก.เข้าเส้นเลือด