Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพการรู้สติ การรับความรู้สึกเเละการเคลื่อนไหว(pathophysiology of…
พยาธิสรีรภาพการรู้สติ การรับความรู้สึกเเละการเคลื่อนไหว(pathophysiology of Nerological)
ระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
เซลล์ประสาทNerve cell,Neuron
เนื้อเยื่อประสาท
เซลล์ประสาท(Neurons)
เซลล์พี่เลี้ยง/เซลล์ค้ำจุน(Neurologlia)
ส่วนประเซลล์ประสาท(Nerve cell,Neuro)
ตัวเซลล์ประสาท(cell body)
แขนงเซลล์ประสาท(cell processes)
จำเเนกเซลล์
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron
เซลล์ประสาทประสานงาน(interneuron)
เซลล์ประสาทสั่งการ(motor Neuron)
เซลล์พี่เลี้ยง/เซลล์คำ้จุน(neuroglia)
แอสโตรไซด์ ควบคุมความเข้มข้นของอิเลตโตรไลต์
เซลล์ไมโครเกลียล สลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ระบบประสาท
เซลล์เอเพนไดมัล สร้างนำ้ล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
เซลล์โอลิโกเดนโดรไซด์ สร้างเนื้อเยื่อเส้นประสาทนิวริเลมมา
การส่งสัญญาณกระเเสประสาท
การทรงตัว
ระบบประสาทส่วนปลาย(peripheral nervous system:PNS)
เส้นประสาท
ความผิดปกติ
การมองเห็น
Myasthenia Gravis(Extraocular muscle)
หนังตาตก
กลอกตาไม่ได้
เห็นภาพซ้อน
Cranial neve Palsy (CN3,4,6)Extraocular muscle)
กระจกตาอักเสบ(keratitis)
ตามัวมองไม่ชัด
การมองเห็นที่ผิดปกติที่พบบ่อย
ต้อกระจก(cataract )
เกกิดจากเลนล์เสื่อมสูญเสียความโปร่งแสงและกิดความขุ่นขาวทำให้มองเห็นลดลง
ต้อหิน(Glaucoma )
เป็นภาวะหรือกลุ่มอาการของโรคที่มีความดันลูกสูงกว่าปกติ
การเสียการทรงตัว
อาการ
Vieritigo
รู้สว่าหมุนที่จริงเเล้วไม่หมุน
Unsteadiness
เซ เนื่องจากมีปัญหาในการยืน
Lighteadedness
คล้ายๆจะเป็นลม
Dizziness
คิดอะไรไม่ออกสมองตื้อๆ
สาเหตุ
เกิดจากระบบประสาททรงตัวส่วนปลาย/ระบบประสาทควบคุม
การขาดเลี้ยไปเลี้ยงสมองส่วนที่ควบคุมการทรงตัว
สติ
การตื่ตัวหรือระดับความรู้สึกตัว
เชาว์ปัหรือการรู้คิด
ระบบประสาทรับความรู้สึกทั่วไปที่พบบ่อย
การบาดเจ็บที่ศีรษะ(traumatic Brian Injury)
บาดเจ็บระยะเเรก
เป็นการเกิดขึ้นทันที
บาดเจ็บระยะที่2
เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดหลังบาดเจ็บระยะเเรก มีก้อนเลือดในชั้นสมองเเต่ละชั้น
การประเมิน
Glasgow coma scale
Myasthenia (MG)
Stroke
Parkinson
เสียหน้าที่ของbasal ganglia ทำให้หลั่งdopamine จากsubstantial migraine ลดลง
ภาวะสมองเสื่อม
เสียความคิดเเละความจำอย่างรุนแรง
การพักผ่อน
ระบบที่คอยควบคุมการนอนหลับ
ระบบการหลับตื่น
ระบบนาฬิกาชีวภาพ
กลไกลการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเเละหน้าที่ ปฏิกิริยาเเละการปรับตัวของระบบประสาทอัตโนมัติ
ระบบประสาทอัตโนมัติ
Hypothalamus
ควบคุมการทำงานANS และต่อมไร้ท่อ
กลไกเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเละหน้าที่ ปฏิกิริยาเเละการปรับตัวของระบบประสาทสั่งการ(motor System and higher brain function)
Motor system
ระบบประสาทส่วนกลาง
Somatic nervous system
คำสั่งเดินทางจากcerebral cortex ที่brain system
ผ่านAxon
Cellสมอง
การควบคุมการเคลื่อนไหว
Motor cortex สู่ motor unit สิ้นสุดneuromuscular junction เพื่อให้กล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเเละคลายตัวที่ประสาทกัน
กระดูกทำงานพยุงกล้ามเนื้อ
นางสาวนลินี โม้ภักดี นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่2 UDA6380037