Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มี ภาวะแทรกซ้อน - Coggle Diagram
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มี
ภาวะแทรกซ้อน
Hyperemesis gravidarum(อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง)
สาเหตุ และ ปัจจัยเสี่ยง
การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน (hormonalstimulus)
การปรับตัวของหญิงตั้งครรภ์ (evolutionary adaptation)
อาการและอาการแสดง
1.อาการไม่รุนแรง
อาเจียนน้อยกว่า 5 คร้ังต่อวันสามารถ
ทำงานได้ตามปกติ
น้ำหนักตัวลดเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขาด สารอาหาร
สามารถทากิจวัตรประจำวันได้
2.อาการรุนแรงปานกลาง
อาเจียนติดต่อกัน5-10 คร้ังต่อวัน
อาเจียนติดต่อกัน ไม่หยุดภายใน 2-4 สัปดาห์
อ่อนเพลีย ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
3.อาการรุนแรงมาก
อาเจียนมากกว่า10คร้ังต่อวัน ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
อาเจียนทันทีภายหลังรัประทานและอาเจียนติดต่อกันเกิน4 สัปดาห์
ขาดสารอาหารอย่างรุนแรง ได้แก่ ผิวหนังแห้ง ไม่ยืดหยุ่น ปากแห้ง ลิ้นเป็ นฝ้าขาว หนา แตก
การดูแล
ประเมินการขาดน้ำและเกลือแร่ของร่างกาย
ให้ยาแก้อาเจียน(B6Dimenhydrinate)ยานอนหลับ
ให้อาหารเหลวอ่อน(อาจงดให้24ชม.กรณีมีอาการมาก)
Twins(ครรภ์แฝด)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่เกิดทารกในครรภ์มากกว่า 1 คนข้ึนไป ได้แก่ แฝดคู่ (Twins) แฝดสาม (Triplets) แฝดสี่ (Quadruplets)
ชนิดของครรภ์แฝด(Zygosity,Chorionicityandamnionicity)
Monozygotic (Identical) twins
Dizygotic (Fraternal) twins
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติและตรวจร่างกายไป
ประวัต้การตั้งครรภ์ที่เกิดจากเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
ประวัติครรภ์แฝดในครอบครัว โดยเฉพาะญาติฝั่งมารดา
การตรวจร่างกาย
ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์จาก LMP (Size > Date)
คลำพบBallottementของศีรษะได้มากกว่า1ตำแหน่ง
ฟังเสียงหัวใจทารกได้2ตำแหน่ง
2.การอัลตราซาวน์(Ultrasonography)
การประเมินรกและถุงน้ำคร่ำ (Chorionicity and amnionicity)
การประเมินอายุครรภ์
การตรวจติดตามการเจริญเติบโตของทารก
การดูแลสตรีต้ังครรภ์แฝดในระยะคลอด (Intrapartum management)
แจ้งวิสัญญีแพทย์เพื่อเตรียมห้องผ่าตัด แจ้งกุมารแพทย์เพื่อเตรียมดูแลเด็ก
ประเมินส่วนนาและท่าของทารกแต่ละคน
จิารณาใช้สูติศาสตร์หัตถการ
•เมื่อแฝดคนแรกคลอดแล้วให้clampสายสะดือทันเพื่อป้องกันการเสียเลือดของแฝดคนหลง
การดูแลสตรีตั้งครรภ์แฝดในระยะหลังคลอด (Postpartum management)
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอดจากUterineoverdistention
ดูแลเรื่องการให้นมบุตรและเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้าหลงัคลอดซึ่งมีโอกาสเกิดง่ายกว่าครรภ์เดยี่วทวั่ไป
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์
Fetal anomalies เน้น การดูแลด้านจิตใจ
Deadfetusเน้น ภาวะเศร้าโศกสูญเสียเฝ้าระวงั DIC :
Elderlygravidaเน้นการคดักรองภาวะเสี่ยงเช่นเบาหวานความดนั ดาวน์
Teenagepregnancyเน้นการให้คำปรึกษามักมาด้วยunwantedpre
Unwanted pregnancy เน้น การให้คำปรึกษา การให้ข้อมูล
Drug addicted pregnancy การดูแลทารก
ทารกตายในครรภ์ Dead fetus
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติรู้สึกทารกไม่ดิ้น ท้องเล็กลง น้ำหนักตัวไม่ขึ้น
2.การตรวจร่างกายHF<GA,ฟังFHSไม่ได้,คลำพบกะโหลกศีรษะนิ่มกว่าปกติน้ำหนักตัว ไม่,ขึ้น
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1การถ่ายภาพรังสี (X-rays)
Spalding’s sign
Deuel sign
กระดูกสันหลังโค้งงอมากกว่าปกติหรือหักงอเป็นมุม
พบเงาแก๊สในหลอดเลือดใหญ่ (aorta venacava)
ตรวจหาปริมาณของ estriol ในปัสสาวะ 24 ช้ัวโมง
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงไม่พบFHR
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
Risk scoring
Biochemical prediction indices
Biophysical prediction indices
Two major Risk factors of Spontaneous preterm birth
Preterm birth prevention
ระดับปฐมภูมิ(Primary)เพื่อ
ป้องกันและลดความเสี่ยง
ระดับตุยิภูมิ(Secondary)เพื่อกพจัดหรือลดความเสี่ยง
ระดับตติภูมิ(Tertiary)
การป้องกันภาวะเจ็บครรภ์ คลอดกอ่นกำหนด
การนอนพัก
การใช้ยาปฏิชีวนะ
การมีเพศสัมพันธ
การเย็บผูกปากมดลูก
การให้ยาprogesterone
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
PROM
การวินิจฉัย
1.ประวัติใสไม่ใช่มูกหรือตกขาวไม่ใช่ปัสสาวะเพราะกลั้นได้
2.Specculum Exam มีนา้ ขังที่ posterior fornix เมื่อให้ไอหรือเบ่ง(cough test)หรือกดยอดมดลกู จะเห็นน้ำคร่ำไหลออกจากปากมดลูก
3.ทำNitrazinetestเพื่อทดสอบความเป็นด่างของน้ำคร่ำ
4.Fern test
ผลต่อมารดา
1.ติดเชื้อเช่น chorioamnionitis endometritis
การคลอดก่อนกำหนด
การคลอดเนิ่นนาน จาก dry labour
ผลต่อทารก
RDS (จากถุงลมปอดขาดสารsurfactant) ขาดออกซิเจน
A Band, IUGR(จากน้ำคร่ำน้อย)
Tertiary prevention
CPG / caremap of PROM
Antibiotics
GA < 34 : steroid / tocolysis.