Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมบนพื้นฐานทฤษฎีการดูแลด้วยความเอื้ออาทรแก่บุคคลที่มีปัญห…
การพยาบาลแบบองค์รวมบนพื้นฐานทฤษฎีการดูแลด้วยความเอื้ออาทรแก่บุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ที่มีความผิดปกติของความคิด
และการรับรู้
ลักษณะอาการทางคลินิก
- กลุ่มอาการด้านบวก (Positive symptoms) แสดงออกถึงความผิดปกติของความคิด การรับรู้ การติดต่อสื่อสาร และพฤติกรรม
-
-
- กลุ่มอาการด้านลบ (Negative symptoms) ภาวะที่ขาดในสิ่งที่คนทั่ว ๆ ไปมี เช่น ในด้านความรู้สึก ความต้องการในสิ่งต่าง ๆ
-
2.2 Affective flattening การแสดงออกทางอารมณ์ลดลงมาก หน้าตาเฉยเมย ไม่ค่อย สบตา แม้ว่าบางครั้งอาจยิ้มหรือมีอารมณ์ดีบ้าง แต่โดยรวมแล้วการแสดงออกของอารมณ์จะลดลงมาก
2.3 Avolition ขาดความกระตือรือร้น เฉื่อยชาลง ไม่สนใจเรื่องแต่งกาย ผู้ป่วยอาจนั่งอยู่ เฉย ๆ ทั้งวันโดยไม่ทำอะไร
-
-
ระยะของโรค
- ระยะก่อนป่วย (Premorbid phase) มีความบกพร่องในด้านสังคม การเคลื่อนไหว หรือด้าน Cognitive ในระดับเล็กน้อย
- ระยะเริ่มมีอาการ (Prodomal phase) เริ่มมีอาการน้อย ๆ มักมี ปัญหาในด้านความรับผิดชอบ หรือด้านสัมพันธภาพ การเรียนหรือการทำงาน
- ระยะอาการกำเริบ (Active phase)
ระยะนี้ความผิดปกติจะมีมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด อาการโรคจิต เช่น อาการหลงผิด หูแว่ว วุ่นวาย ก้าวร้าว หรือพูดแล้วคนอื่นฟังไม่เข้าใจ
อาการหลงผิด (Delusion) คิดว่าตนเองเป็นเทพเจ้า ชนิดที่พบบ่อย คือ หวาดระเเวง(paranoid delusion) และความคิดหลงผิดที่แปลก ใครก็ทราบว่าเป็นไปไม่ได้ (bezzare delusion)
อาการประสาทหลอน (Hallucination) ที่พบบ่อย คือ หูแว่ว(auditory hallucination) รองลงมา คือ ภาพหลอน(visual hallucination)
อาการด้านความคิด (Disorganized of thought) มีเหตุผลแปลกๆไม่เหมาะสม เช่น ใช้คำแปลกๆที่ไม่มีใครเข้าใจนอกจากตนเอง
ด้านพฤติกรรม (Disorganized of behavior) เช่น เก็บตัวมากขึ้น ไม่อาบน้ำหลายๆวันติดกัน กลางคืนไม่นอน ทำท่าทางแปลกๆ
อาการทางด้านลบ (Negative symptoms) ขาดในสิ่งที่ควรจะมีในคนทั่วไป เช่น ไม่อยากได้ ไม่กระตือรือร้น เฉื่อยชา ไม่สนใจเรื่องแต่งกาย อยู่เฉยๆ
- ระยะเรื้อรัง/ อาการหลงเหลือ (Chronic/ Residual phase)
สาเหตุของโรคจิตเภท
1.ปัจจัยทางชีวภาพ
- พันธุกรรม ญาติของผู้ป่วยมีโอกาสเป็นโรคจิตเภทสูงกว่าประชากร ทั่วไป ยิ่งมีความใกล้ชิดทางสายเลือดมาก ยิ่งมีโอกาสเป็นสูง
- ระบบสารชีวเคมีในสมอง เกิดจาก Dopaminergic hyperactivity โดยเฉพาะ ในบริเวณ Mesolimbic และ Mesocortical tract สารส่งผ่านประสาทอีกชนิดหนึ่งที่สนใจกันคือ Serotonin
- กายวิภาคของสมอง มีปริมาณเนื้อสมองน้อยกว่าปกติ โดยเฉพาะในส่วนของ Cortical gray matter และมี Venticle โตกว่าปกติ มีความสัมพันธ์กับอาการด้านลบ การตอบสนองต่อการรักษาไม่ดี และการบกพร่องทางด้าน Cognition
- ประสาทสรีรวิทยา แนวคิดปัจจุบันมองว่า เป็นความผิดปกติในการทำงานของสมองหลาย ๆ วงจรที่เกี่ยวข้องกัน ทั้งในระดับ Cortical และ Subcortical
-
การวินิจฉัย
A. มีอาการนี้ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไปนาน 1 เดือน โดยอย่างน้อยต้องมีอาการในข้อ 1-3 อยู่ 1 อาการ 1. อาการหลงผิด 2.ประสาทหลอน 3.การพูดอย่างไม่มีระเบียบแบบแผน (การพูดในลักษณะที่หัวข้อ วลี หรือประโยคที่กล่าวออกมาไม่สัมพันธ์กัน (Disorganized speech) 4. พฤติกรรมที่ไม่มีระเบียบแบบแผนที่คนในสังคมหรือวัฒนธรรมของผู้ป่วยไม่ทำกัน 5. อาการด้านลบ เช่น สีหน้าทื่อ เฉยเมย แยกตัวจากคนอื่น
B. ระดับความสามารถในด้านสำคัญ ๆ เช่น ด้านการทำงาน การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น หรือการ ดูแลตนเอง ลดลงไปจากเดิมอย่างชัดเจนอย่างน้อย 1 ด้าน
C. มีอาการต่อเนื่องนาน 6 เดือนขึ้นไป มี Active phase (ตามข้อ A) อย่างน้อยนาน 1 เดือน (อาจน้อยกว่านี้หากรักษาได้ผล) และอาจรวมถึง Prodomal หรือ Residual phase โดยในช่วง Prodromal หรือ Residual อาการที่พบอาจเป็นเพียงอาการด้านลบหรืออาการตามข้อ A ตั้งแต่ 2 อาการ แต่แสดงออกแบบเล็กน้อย
-
-
F. ผู้ป่วยที่มีประวัติกลุ่มโรคออทิสติก หรือโรคเกี่ยวกับการสื่อสารตั้งแต่วัยเด็ก จะวินิจฉัยโรค จิตเภทก็ต่อเมื่อมีอาการหลงผิดหรืออาการประสาทหลอนที่เด่นชัดเป็นเวลา อย่างน้อย 1 เดือน ร่วมด้วย