Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลระยะที่1,2,3,4 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลระยะที่1,2,3,4 ของการคลอด
การรับใหม่ผู้มาคลอด
กิจกรรมในการรับใหม่ผู้มา
คลอด
ซักประวัติ ชื่อนามสุกล อาชีพ ประวัติการตั้งครรภ์ ครรภ์ที่เท่าไหร่ ประจำเดือนมาวันแรกของครั้งสุดท้าย วันคาดคะเนวันคลอด ประวัติการเจ็บครรภ์
ตรวจและวัดสัญญาณชีพ (Vital singns)
ตรวจปัสสาวะเพื่อหาโปรตีนและน้ำตาลในปัสสาวะ
ตรวจครรภ์ ดูขนาดมดลูก คลำหายอดมดลูก ฟังเสียงหัวใจเด็ก
ตรวจและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก ความถี่ ระยะเวลา ความแรง
ตรวจภายใน (Per Vaginal examination = PV)
6.1 ส่วนนำ (Presentation)
ส่วนนำเป็นศีรษะ(Head presentation or Vertex)
ส่วนนำเป็นหน้าของทารก (Face presentation)
ส่วนนำเป็นหน้า (Face presentation)
ส่วนำเป็นหน้าผาก (Brow , Bregma และ Sinciput)
ส่วนนำเป็นก้น (Breech presentation)
ส่วนนำเป็นไหล่ (Acromion presentation)
ส่วนนำหลายๆอย่าง (Compound presentation) แขน มือ เท้า ขา ของทารกออกมาพร้อมๆกับ
ส่วนนำอื่นๆ
6.2 ระดับของส่วนนำ (Station)
6.3 ปากมดลูก ต้องตรวจความบาง และการดปิดขยายของปากมดลูก
6.4 ถุงน้ำคร่ำ (Membranes)
ทำความสะอาอดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
สวนล้างลำไส้ใหญ่ส่วนล่างและทวารหนัก (emema)
บันทึกอาการนำของผู้คบอดที่มาถึงสถานบริการ
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
กิจกรรมการพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
ซักประวัติ และศึกษารายงานการฝากครรภ์โดยละเอียด
ประเมินสัญญาณชีพ
ทุก 2-4 ชั่วโมง
ประเมินสภาวะทารกใน ครรภ์
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การบันทึกพาโตรกราฟ (Partogram)
4.1 การเปิดขยาย ความบางของปากมดลูก ระดับส่วนนำ การหดตัวของมดลูก
4.2 สุขภาพของทารกในครรภ์
4.3 สุขภาพของมารดา
ดูแลความสุขสบายของผู้
คลอด
5.1 ความสะอาด
5.2 อาหาร ระยะ latent ให้อาหารได้ตามปกติ
5.3 การพักผ่อน
5.4 ช่วยลดความปวด
5.5ให้ยาระงับความปวดตาม ดุลยพินิจของแพทย์
การย้ายผู้คลอดเข้าห้อง
คลอด
การพยาบาลในระยะที่ 2 ของการคลอด
เมื่อปากมดลูกเปิดหมด
รู้สึกอยากเบ่ง
มีมูกเลือดปนออกทางช่องคลอด
ถุงน้ำคร่ำจะแตกในช่วง แรกของระยะนี้
ฝีเย็บโป่ง
กิจกรรมการพยาบาล
ในระยะที่ 2 ของการคลอด
ประเมินสภาวะผู้คลอดและทารกในครรภ์บันทึกการหดรัดตัวของมดลูกทุก 10-15 นาที,ตรวจภายซ้ำ,ฟังเสียงการเต้นหัวใจของทารกทุก5นาที,สังเกตการเคลื่อนต่ำ
ของส่วนนำทารก
2.การเตรียมสำหรับการคลอด
2.1 การเตรียมสถานที่ และอุปกรณ์
ทำความสะอาดเตียง ปูผ้ายางและผ้ารองคลอด ทำความสะอาดโต๊ะอุปกรณ์ ไฟส่องสว่าง
ผ้าปูรองคลอด ผ้าปิดหน้าท้อง
ผ้าเช็ด และถุงมือ 2 คู่
ชามกลมใส่สำลี ชามกลมสำหรับใส่รก
ถุงเท้า 2 ข้าง
กรรไกรตัดฝีเย็บ (perineum) 1 ตัว
คีมคีบรัดสายสะดือ (Cord clamp) 2 ตัว
กรรไกรตัดสายสะดือ (Cord scissors) 1 ตัว
ลูกสูบยางสีแดง/เทา
ยางรัดสายสะดือ เข็มเย็บปลายกลม (Round) เข็มปลายเหลี่ยม (Cutting)
เข็ม (Needle holder) ไหมเย็บ (Cat gut 2/0) กรรไกรตัดไหม (scissors) 1 ตัว
2.2 การเตรียมตัวพยาบาล
ผดุงครรภ์
ตัดเล็บสั้น สระผมบ่อยๆ ใส่หมวก ผูกผ้าปิดปาก และจมูก สวมเสื้อกาวว์
2.3 การเตรียมผู้คลอด
ผู้คลอดอยู่ในท่านอนหงายชันเข่าทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกคลุมผ้าสะอาดที่นึ่งแล้วสวน
ปัสสาวะ
การทำคลอด
และการช่วยคลอด
3.1 ตัดฝีเย็บ (Episitomy)
3.2 การช่วยคลอดศีรษะ นิยมช่วยทำคลอดแบบ Modified Ritgen'
3.3 การช่วยคลอดไหล่
3.4 การตัดสายสะดือ
3.5 การดูแลทารกแรกเกิด
การพยาบาลในระยะที่ 3 ของการคลอด
ประเมินสภาวะผู้คลอด วัดความดันทันทีหลังทำคลอด ถ้าสูงกว่า 130/90 mmHg ให้ปรึกษาแพทย์
ทำคลอดรก และตรวจรก
2.2 Vulva sign
Duncan mechanism คือ รกลอกตัวจากขอบๆรก
Schultze mechanism คือ รกลอกตัวออกจาก ตรงกลาง
2.1 Uterine sign ทันทีหลังทารกคลอดออกมา แล้วยอดมดลูกจะเคลื่อนต่ำลงในระดับสะดือเล็กน้อย
2.3 Cord sign การคลอดรกมี 2 ลักษณะคือ
คลอดเองตามธรรมชาติ (Spontaneous
ผู้ทำคลอดช่วยทำคลอดรก
Modified Crede's maneuver
Brant-Andrews maneuver
Controlled cord traction
การตรวจรกหลังคลอด
สายสะดือ Vein 1 เส้น artery 2 เส้น
ถุงน้ำคร่ำ มี 2 ชั้น Chorion และAmnionควรมีรูเปิดเพียง 1 รู
วัดความดันโลหิต และให้ยารัดมดลูก
คาดคะเนปริมาณเลือดที่ออกและตรวจสอบการ
หดรัดตัวของมดลูก
ตรวจดูการฉีกขาดของช่องคลอด
เย็บซ่อมแซมแผลที่ฝีเย็บ
ทำความสะอาดผู้คลอด
ให้ทารกดูดนมมารดา โดยเร็วภายในครึ่งชั่วโมง
การพยาบาลในระยะที่ 4 ของการคลอด
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสภาวะหญิงหลัง คลอด วัดสัญญาณชีพ
การดูแลย้ายผู้ป่วยไปห้องคลอดประเมินอาการตก
เลือดหลังคลอด ให้สุขศึกษา
ให้สุขศึกษา เรื่อง อาหาร การพักผ่อน การให้นม
loiguu