Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฉบับที่ 12 - Coggle Diagram
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฉบับที่ 12
แผนพัฒนาฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
จะสอบรับกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว 20 ปี ในลักษณะของการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ระยะยาวลงสู่การปฏิบัติในช่วงเวลา 5 ปี
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
เป้าหมาย
คนไทยส่วนใหญ่มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคมเพิ่มขึ้น
คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ และความสามารถเพิ่มขึ้น
สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น
โดยเฉพาะสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนา ชุมชน สื่อมวลชน และภาคเอกชน
คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น
คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพสูงตามมาตรฐานสากล และสามารถเรียนรู้ด้วย
ตนเองอย่างต่อเนื่อง
แนวทาง
ปรับเปลี่ยนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรม
ที่พึงประสงค์
พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้และความสามารถในการด ารงชีวิตอย่างมีคุณค่า
ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพและให้ทุกภาคส่วนค านึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพ
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบสุขภาพภาครัฐและปรับระบบการเงินการคลัง
ด้านสุขภาพ
พัฒนาระบบการดูแลและสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับสังคมสูงวัย
ผลักดันให้สถาบันทางสังคมมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศอย่างเข้มแข็ง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
แนวทาง
การบริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวม
การเสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ
เป้าหมาย
การลงทุนภาครัฐและเอกชนขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
พัฒนาภาคส่งออกให้ขยายตัวและเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
เพิ่มผลิตภาพการผลิตของประเทศ
รักษาเสถียรภาพของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
เพิ่มการลงทุนจากความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
ประชาชนและผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบภาษีมากขึ้น
ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงขึ้น
เศรษฐกิจเติบโตได้ตามศักยภาพ ประชาชนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การเสริมสร้างความมั่งคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน
เป้าหมาย
ปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็นสถาบันหลักของประเทศ
สังคมมีความสมานฉันท์ ผู้เห็นต่างทางความคิดของคนในชาติสามารถอยู่ร่วมกัน
ได้อย่างสันติ ประชาชนมีส่วนร่วมป้องกันแก้ไขปัญหาความมั่นคง
ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
มีโอกาสในการศึกษาและการประกอบอาชีพที่สร้างรายได้เพิ่มขึ้น
ประเทศไทยมีความสัมพันธ์และความร่วมมือด้านความมั่นคงในกลุ่มประเทศ สมาชิกอาเซียน มิตรประเทศ และนานาประเทศในการป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบต่างๆ ควบคู่ไปกับการรักษาผลประโยชน์ของชาติ
ประเทศไทยมีความพร้อมต่อการรับมือภัยคุกคามทั้งภัยคุกคามทางทหารและ
ภัยคุกคามอื่นๆ
แผนงานด้านความมั่นคงมีการบูรณาการสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนา
เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทาง
การรักษาความมั่นคงภายในเพื่อให้เกิดความสงบในสังคมและธ ารงไว้ซึ่งสถาบันหลักของชาติ
การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันประเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือ
ภัยคุกคามทั้งการทหารและภัยคุกคามอื่นๆ
การส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศด้านความมั่นคง เพื่อบูรณาการความร่วมมือกับ
มิตรประเทศเพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการป้องกันภัยคุกคามข้ามชาติ
การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทางทะเลเพื่อคงไว้ซึ่งอ านาจอธิปไตยและ
สิทธิอธิปไตยในเขตทางทะเล
การบริหารจัดการความมั่นคงเพื่อการพัฒนา เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกันระหว่าง
แผนงานที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงกับแผนงานการพัฒนาอื่นๆ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
เป้าหมาย
ลดปัญหาความเหลื่อมล้้าด้านรายได้ของกลุ่มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคม
ที่แตกต่างกัน และแก้ไขปัญหาความยากจน
เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ
เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็ง เพื่อให้ชุมชนพึ่งพา
ตนเองและได้รับส่วนแบ่งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมากขึ้น
แนวทาง
เพิ่มโอกาสให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ ๔๐ ที่มีรายได้ต่้าสุดให้สามารถเข้าถึง
บริการที่มีคุณภาพของรัฐ และมีอาชีพ
กระจายการให้บริการภาครัฐทั้งด้านการศึกษา สาธารณสุข และสวัสดิการที่มีคุณภาพให้
ครอบคลุมและทั่วถึง
เสริมสร้างศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และการสร้างความเข้มแข็งการเงินฐานรากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีสิทธิในการจัดการ ทุน ที่ดินและทรัพยากรภายในชุมชม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย
เป้าหมาย
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เพิ่มคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริตให้สูงขึ้น
ลดสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและ
การให้บริการของภาครัฐ และประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจของประเทศ
ลดจำนวนการดำเนินคดีกับผู้มิได้กระทำความผิด
แนวทาง
ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน บทบาท ภารกิจ และคุณภาพบุคลากรภาครัฐ ให้มีความ
โปร่งใส ทันสมัย คล่องตัว มีขนาดที่เหมาะสม เกิดความคุ้มค่า
ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณ และสร้างกลไกในการติดตามตรวจสอบการเงินการคลัง
ภาครัฐ
เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับการให้บริการสาธารณะให้ได้มาตรฐานสากล
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมให้มีความทันสมัย เป็นธรรม และสอดคล้องกับ
ข้อบังคับสากลหรือข้อตกลงระหว่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เป้าหมาย
รักษา และฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ
สร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีลดมลพิษ และลดผลกระทบต่อสุขภาพของ
ประชาชนและระบบนิเวศ
สร้างความมั่นคงด้านน้้า และบริหารจัดการทรัพยากรน้้าทั้งน้้าผิวดินและ
น้้าใต้ดิน ให้มีประสิทธิภาพ
เพิ่มประสิทธิภาพการลดก๊าซเรือนกระจกและขีดความสามารถในการปรับตัว
ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติความสูญเสีย
ในชีวิตและทรัพย์สินที่เกิดจากสาธารณภัยลดลง
แนวทาง
การรักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติสร้างสมดุลของการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่าง
ยั่งยืนและเป็นธรรม
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้้าเพื่อให้เกิดความมั่นคง สมดุล และยั่งยืน
แก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัว
ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
บริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงด้านภัยพิบัติ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการและกลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 9 : การพัฒนาภาคเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
เป้าหมาย
ลดช่องว่างรายได้ระหว่างภาคและมีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมมากขึ้น
เพิ่มจำนวนเมืองศูนย์กลางของจังหวัดเป็นเมืองน่าอยู่สำหรับคนทุกกลุ่มในสังคม
พื้นที่ฐานเศรษฐกิจหลักมีพื้นฐานการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงเเละเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม
เพิ่มมูลค่าการลงทุนในพื้นที่เศรษฐกิจใหม่บริเวณชายเเดน
แนวทาง
การพัฒนาภาคเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กระจายตัวอย่างทั่วถึง
การพัฒนาเมืองเป็นศูนย์กลางของจังหวัดให้เป็นเมืองน่าอยู่สำหรับคนทุกกลุ่มในสังคม
พัฒนาฟื้นฟูพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกให้เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมหลัก
ของประเทศที่ขยายตัวอย่างมีสมดุล มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่
พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดนเป็นประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับประเทศ
เพื่อนบ้านให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืนและเกิดผลที่เป็นรูปธรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 8 : การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม
เป้าหมาย
เพิ่มความเข้มเเข็งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ
เพิ่มความสามารถในการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อยกระดับความสามารถการเเข่งขันของภาคการผลิตและการบริการ และคุณภาพชีวิตของประชาชน
แนวทาง
เร่งส่งเสริมการลงทุนวิจัยเเละพัฒนาและผลักดันสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และเชิงสังคม
พัฒนาผู้ประกอบการให้เป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี
พัฒนาสภาวะเเวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 7 : การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
เป้าหมาย
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ในภาพรวม
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบขนส่ง
การพัฒนาระบบโลจิสติกส์
การพัฒนาด้านพลังงาน
การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
การพัฒนาด้านสาธารณูปการ (น้้าประปา)
แนวทาง
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านขนส่ง
การสนับสนุนการพัฒนาระบบขนส่ง
การพัฒนาระบบโลจิสติกส์
การพัฒนาด้านพลังงาน
การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
ยุทธศาสตร์ที่ 10 : ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา
เป้าหมาย
เครือข่ายการเชื่อมโยงตามแนวระเบียงเศรษฐกิจที่ครอบคลุมและมีการใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ
ระบบห่วงโซ่มูลค่าในอนุภูมิภาคและภูมิภาคอาเซียนเพิ่มขึ้น
ประเทศไทยเป็นฐานเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนที่สำคัญในภูมิภาคอนุภูมิภาคอาเซียน และเอเชีย รวมทั้งมีการพัฒนาส่วนขยายจากแนวระเบียงเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคให้ครอบคลุม ภูมิภาคอาเซียน เอเชียตะวันออก และเอเชียใต้
ประเทศไทยเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาที่สำคัญทั้งในทุกระดับ
แนวทาง
ขยายความร่วมมือทางการค้า และการลงทุนกับมิตรประเทศ และแสวงหาตลาดใหม่
สำหรับสินค้าและบริการของไทย
พัฒนาความเชื่อมโยงด้านการคมนาคมขนส่ง โลจิสติกส์ และโทรคมนาคมในกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคภายใต้แผนงาน GMS, ACMECS, IMT-GT, BIMSTEC และ JDS และภูมิภาคอาเซียน เพื่ออำนวยความสะดวกและลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์
พัฒนาและส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการประกอบธุรกิจ การบริการ และการลงทุนที่โดด
เด่นในภูมิภาค
ส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศ (Outward investment) ของผู้ประกอบการไทย
พัฒนาผู้ประกอบการโดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้สามารถพัฒนาธุรกิจร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน
เปิดประตูการค้าและพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในลักษณะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ทั้งในระดับอนุภูมิภาค และภูมิภาคที่มีความเสมอภาคกัน
สร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับประเทศในอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาประเทศ
เข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศโดยมีบทบาทที่สร้างสรรค์
ส่งเสริมความร่วมมือกับภูมิภาคและนานาชาติในการสร้างความมั่นคง
บูรณาการภารกิจด้านความร่วมมือระหว่างประเทศและด้านการต่างประเทศ
ส่งเสริมให้เกิดการปรับตัวภายในประเทศที่สำคัญ