Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพ การรู้สติ การรับรู้สึกและการเคลื่อนไหว Pathophusiology of…
พยาธิสรีรภาพ การรู้สติ การรับรู้สึกและการเคลื่อนไหว Pathophusiology of Neurological
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve)
ทำหน้าที่เป็นทางเชื่อมของสารสนเทศระหว่างสมองและหลายบริเวณ ส่วนใหญ่คือศีรษะและคอประสาทไขสันหลังลงไปถึงกระดูกสันหลังส่วนคอที่หนึ่ง และประสาทสมองบทบาทสัมพันธ์กันเหนือระดับนี้
เป็นเส้นประสาทที่เกิดจากสมองและก้านสมองโดยตรงตรงข้ามกับประสาทไขสันหลังซึ่งเกิดจากไขสันหลังหลายปล้องประสาทสมองมีเป็นคู่และอยู่ทั้งสองข้างประสาทสมองในมนุษย์มีสิบสองคู่ ประสาทปลาย ประสาทรับกลิ่น (I) และประสาทตา (II) กำเนิดจากสมองใหญ่หรือสมองส่วนหน้า ส่วนอีกสิบคู่ที่เหลือกำเนิดจากก้านสมอง
ระบบรับความรู้สึก Sensory system
กลไกของระบบรับความรู้สึก ได้แก่ ตัวกระตุ้นจะกระตุ้นตัวรับความรู้สึก (sensory receptor)
ในอวัยวะรับความรู้สึกหรืออวัยวะรับสัมผัส(sensororgan) ที่เป็นส่วนหนึ่งของเอ๊กซอน(AXON)ของปลายประสาทรับความรู้สึกของระบบประสาทส่วนปลาย(Peripheral nervous system : PNS) จึงทำให้มีการสร้างกระแสประสาท(Nerve Impulse) ส่งต่อเข้ามาในระบบ ประสาทส่วนกลาง(Central nervous system : CNS) ให้แปลผลการรับ ความรู้สึกนั้นๆ เพื่อการตอบสนองต่อสิ่งที่มากระตุ้น
การรับความรู้สึกพิเศษ(Special Sensation)
การเคลื่อนไหว
การดมกลิ่น
การรับรส
การมองเห็น
กลไกที่ 1 การกระตุ้น (Stimulation) ที่ตัวรับ (Photoreceptor)ในจอรับภาพ (Retina) โดยแสงแล้วเกิดศักย์ไฟฟ้า
กลไกที่ 2 การส่งผ่าน (Transmission) ศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นนี้ไปตามวิถีประสาทการมองเห็น (Visual pathway) เข้าสู่สมอง
กลไกที่ 3 การแปลหรือวิเคราะห์ข้อมูล
(Translation) ที่ได้ว่าภาพที่เห็นเป็นภาพอะไร
สายตาสั้น (Myopia;nearsightedness) ภาวะที่มองเห็นเฉพาะวัตถุใกล้ๆ เท่านั้น
สาเหตุ กระบอกตายาวมากกว่าปกติ กระจกตาโค้งกว่าปกติ มีการหักเหของแสงเพิ่มขึ้น
การแก้ไข การใช้แว่นตาที่เป็นเลนส์เว้า (Concave lens)
สายตายาว (Hypermetropia,farsightedness) ภาวะที่มองเห็นเฉพาะวัตถุไกลๆเท่านั้น
สาเหตุ กระบอกตาสั้นกว่าปกติ กระจกตาโค้งน้อยกว่าปกติมีการหักเหของแสงลดลง
การแก้ไข การใช้แว่นตาที่เป็นเลนส์นูน (Convex lens)
สายตาเอียง (Astigmatism) เป็นภาวะที่ผิดปกติของสายตาเนื่องจากมีการหักเหของแสงไม่เท่ากันในมุกแนวระนาบ
สาเหตุ กระจกตามีผิวโค้งหรือมีรัศมีความโค้งไม่สม่ำเสมอกันทำให้เกิดการหักเหไม่เท่ากัน
การแก้ไข การใช้แว่นตาที่เป็นเลนส์ทรงกระบอก (Cylindrical lens)
ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการองเห็นที่พบบ่อย
ต้อหิน (Glaucoma)
เป็นภาวะหรือกลุ่มอาการของโรคที่มีความดันลูกตาสูงกว่าปกติ (Intraocular pressure) จนทำให้ขั้วประสาทตาเสื่อมและมีผลทำให้กิดความบกพร่องของลานสายตา
ต้อกระจก (Cataract)
• เกิดจากเลนส์เสื่อมสูญเสียสภาพโปร่งแสงและเกิดการขุ่นขาวทาให้ การมองเห็นลดลง
การได้ยินและการทรงตัว
สาเหตุของการสูญเสียการทรงตัว
หน้าที่ของระบบรับความรู้สึก คือ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มา กระตุ้นร่างกายในรูปแบบ ต่างๆ ซึ่งจะมีผลให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมและมีชีวิตอยู่รอดได้
ระบบประสาทรับความรู้สึกทั่วไป (Somatic sensation)
การรับรู้วัตถุในด้านรูปร่างน้ำหนัก (Stereognosis)
การรับความรู้สึก
เกี่ยวกับความเจ็บป่วย (pain)
การรับความรู้สึกเก่ียวกับอุณหภูมิ (temperature)
การรับความรู้สึกของอวัยวะภายใน
(visceral organ)
การรับความรู้สึกจากกล้ามเน้ือและข้อต่อ (proprioception)
การรับความรู้สึกจากการสัมผัส (touch)
เซลล์ประสาท(Neuron)
และเซลล์พี่เลี้ยง/เซลล์ค้ำจุน(Neuroglia)
บริเวณประสานประสาท (Synapse)
สื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท หรือเซลล์ประสาทกับเซลล์เป้าหมาย
ไซแนปส์เคมี (Chemical synapse) เป็นไซแนปส์ที่ใช้ สารเคมีที่เรียกว่าสารสื่อประสาทเป็นตัวสื่อสาร
ไซแนปส์ไฟฟ้า (Electrical synapse) มีโครงสร้างและ การทำงานที่ไม่ซับซ้อน
บริเวณประสานประสาท (Synapse)
ตัวรับ (Receptor) และสารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
สารสื่อประสำท(Neurotransmitter)เป็น
สารเคมีที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นในเซลล์ประสาท
ตัวอย่างสำรสื่อประสาท
อะเซทิลโคลีน (Acetylcholine; Ach)
เป็นสารสื่อประสาทตัวแรกที่ถูก ค้นพบใน CNS
โมโนเอมีน (Monoamines) เป็นสาร
สื่อประสาท
กรดอะมิโน (Amino acid) เป็นสาร
สื่อประสาทที่มีทั้งชนิดกระตุ้นการทำงาน
การส่งสัญญาณประสาท
การส่งสัญญาณประสาท
ระดับแคลเซียมที่สูงขึ้นในไซโทพลาซึมที่ปลายแอกซอน (axon terminal) ยังจุดชนวนให้ไมโทคอนเดรียดูดซึมแคลเซียม (mitochondrial calcium uptake) ซึ่งก็จะเริ่มกระบวนการเมแทบอลิซึมทางพลังงานของไมโทคอนเดรียเพื่อ ผลิดอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP) เพื่อเป็นพลังงานดำรงการสื่อประสาท
ตัวรับ (Receptor) เป็นโปรตีน
ที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์
ส่วนประกอบเซลล์ประสาท
แขนงประสาท (Cell Processes) ประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่นำสัญญาณประสาทเข้าสู่ตัว เซลล์ เรียกว่า เดนไดรต์ (Dendrites) และส่วนที่ทำหน้าที่นำสัญญาณประสาทออกจากเซลล์ เรียกว่า แอกซอน (Axon) โดยส่วนที่มีเยื่อหุ้มไมอิลีน เรียกว่า Myelinated axon และที่ไม่มีเยื่อหุ้มไมอิลีน เรียกว่า Unmyelinated axon
ตัวเซลล์ประสาท (Cell body ; Soma )
เซลล์พี่เลี้ยงหรือเซลล์ค้ำจุน (Neuroglia)
เป็นหน่วยช่วยสนับสนุนการทำงานของเซลล์
เซลล์โอลิโกเดนโดรไซด์ (Oligodendrocyte, Schwann cell) ทำหน้าที่สร้างเยื่อหุ้ม เส้นประสาทนิวริเลมมา (Neurilemma) และเยื่อหุ้มไมอิลีน (Myelin sheath)
แอสโตรไซด์(Astrocyte) ทำหน้าที่หลายอย่าง เช่น ควบคุม ความเข้มข้นของอิเลตโตรไลต์ความสมดุลกรด-ด่างที่อยู่ล้อมรอบเซลล์ประสาท ยึดเหนี่ยวระหว่างเซลล์ประสาทและหลอดเลือดฝอย
เซลล์เอเพนไดมัล(Ependymal cell) ทำหน้าที่สร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง(Cerebrospinal fluid : CSF)
วิถีประสาท (Nerve Pathway)
เป็นเซลล์ประสาท (นิวรอน) ที่เชื่อมต่อกันเป็นทอด ๆเพื่อส่งกระแสประสาทจากส่วนหนึ่งของระบบประสาทไปยังอีกส่วนหนึ่ง
นิวรอนอาจจะเชื่อมต่อกันโดยใยประสาทเพียงเส้นเดียว หรือโดยมัดใย ประสาทที่เรียกว่าลำเส้นใยประสาท (tract)
วิถีประสาทที่เชื่อมส่วนที่ห่างไกลกันในสมองหรือระบบประสาทจะเป็นมัดใย ประสาทที่เรียกรวม ๆ กันว่า เนื้อขาว (white matter)
วิถีประสาทที่เชื่อมส่วนที่ใกล้ ๆ กัน เช่น ในระบบประสาทที่ใช้สารสื่อ ประสาทโดยเฉพาะ ๆ (neurotransmitter system) มักจะเรียกว่า เนื้อเทา (grey matter)
เป็นวิถีประสาทที่รับรู้เกี่ยวกับการรับความรู้สึกจากการสัมผัส (tactile, touch)ได้แก่ การสั่น(Vibration), คัน (Itching), กด(Pressure)
ตำแหน่งของร่างกาย(Proprioception) โดย มีตัวรับอยู่ในกล้ามเนื้อ(Muscle spindle stretch receptor)
และเอ็น(Golgtendon organ) ซึ่งตอบสนองของกล้ามเนื้อและเอ็น
รับรู้คุณสมบัติของวัตถุในเรื่องของรูปทรง(Stereognosis) ส่วนประกอบที่เป็นเนื้อวัตถุ(Shape)และน้ าหนักของวัตถุ
(Texture)
ทดสอบเกี่ยวกับการรับรู้การเคลื่อนไหวของข้อต่อนั้น
การเคลื่อนไหวของข้อต่อ(Kinesthesia) โดยมีตัวรับอยู่ในกระดูก(Joint receptor)
ตรวจความสามารถในการรับรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของการสัมผัสและคลำวัตถุ(Stereognosis)
ตรวจหา touch threshold ของความสามารถในการแยกแยะรายละเอียดของการสัมผัสที่กระทำพร้อมกันบนผิวหนัง
วิถีประสาท (Nerve Pathway)
ที่สําคัญ
Posterior column-medial lemniscus pathway
Spinothalamic tract pathway
เป็นวิถีประสาทที่รับความรู้สึกเกี่ยวกับอณุหภูมิความเจ็บปวดและ สัมผัสอย่างหยาบ (Crude touch)
Pyramidal/corticospinal tract
Retinohypothalamic tract
Dorsal column- medial lemniscus tract
เป็นวิถีประสาทที่รับรู้เกี่ยวกับการรับความรู้สึกจากการสัมผัส (tactile, touch) ได้แก่ การสั่น (Vibration), คัน (Itching),
กด (Pressure)
การทรงตัว
รับรู้เกี่ยวกับ ตำแหน่งของร่างกาย (Proprioception) โดยมีตัวรับอยู่ในกล้ามเนื้อ (Muscle spindle stretch receptor) และเอ็น (Golgi tendon organ) ซึ่งตอบสนองของกล้ามเนื้อและเอ็น
การเคลื่อนไหวของข้อต่อ (Kinesthesia) โดยมีตัวรับอยู่ในกระดูก (Joint receptor)
ความผิดปกติในระบบประสาทที่พบบ่อย
(NeuroPathology)
Parkinson
เกิดจากการเสียหน้าที่ Basal Ganglia ทำให้การหลั่ง Dopamin จาก Substaintia Nigra ลดลง โดยเป็นความผิดปกติของการส่งผ่านของประสาทสั่งการ (Transmission in Motor system)
Stroke
ภาวะสมองเสื่อม (Dementia)
มีการสูญเสีย neuronal และ Microvacuolization
Myasthenia Gravis (MG)
การบาดเจ็บที่ศีรษะ (Traumatic brain injury)
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ปฏิกิริยาการปรับตัวและความผิดปกติของการรู้สติ การรับความรู้สึก การเคลื่อนไหวและการนอนหลับพักผ่อน
การรับความรู้สึก
Sensory system
Autonomic nervous system
การรู้สติการเคลื่อนไหว Motor system and higher brain function
ความผิดปกติท่ีเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว
การทำงานของกล้ามเน้ือ
(Muscle performance)
การส่งผ่านประสาทส่ังการ (Transmission in motor System)
ความผิดปกติของประสาทส่ังการตัวล่าง
(Lower motor neuron)
การควบคุมการเคลื่อนไหว
ความสามารถที่จะเคลื่อนท่ีไปมาโดยอิสระ
กลไกการเคลื่อนไหวมี 3 ประการ ได้แก่
มีการส่งผ่านสัญญาณประสาทจาก motor cortex สู่ motor unit ส้ินสุดที่ neuromuscular junction เพื่อให้เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ
มีการทำงานของกล้ามเนื้อในการหดตัวและคลายตัวที่ประสานกัน เพื่อขยับโครงกระดูกให้เคลื่อนท่ี
มีการทำงานของกระดูกในการเป็นแกนแข็งพยุงกล้ามเน้ือ เป็นคานสำหรับเคลื่อนที่ และการทำงานของข้อต่อในจุดหมุน
ให้กับกระดูก
การนอนหลับพักผ่อน
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ปฏิกิริยา และการปรับตัวของระบบรับความรู้สึก (Sensory system)
ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral Nervous System: PNS) คือส่วนของระบบประสาทที่แตกแขนงออกมาจากระบบประสาท
องค์ประกอบของ PNS ประกอบด้วย
เส้นประสาทสมอง (Cranial Nerve) 12 ทำหน้าที่รับส่งกระแสประสาทสู่สมองและนำคำสั่งการคู่จากสมองส่งต่อไปยังหน่วยปฏิบัติการ
เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal Nerve) 31 คู่ ทำหน้าที่รับส่งกระแสประสาทสู่ไขสันหลังและนำคำสั่งการจากไขสันหลังส่งต่อไปยังหน่วยปฏิบัติการ เช่น กล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ
เซลล์ประสาท (Neuron) นอกระบบประสาทส่วนกลางทําหน้าที่รับข้อมูลจาก ร่างกายและนําส่งไปยังสมองและไขสันหลัง
ส่วนกลาง (Central Nervous System: CNS) ทำหน้าที่รับและส่งกระแสประสาทหรือข้อมูลที่ได้รับจากส่วนต่างๆของร่างกายเข้าสู่สมองและไขสันหลัง
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ปฏิกิริยาและการปรับตัวของระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Nervous System:ANS)
ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Nervous System:ANS)
ควบคุมการทำงานของร่างกายภายนอกอำนาจจิตใจท่ีเกิดจากการกระตุ้นด้วยการเปลี่ยนแปลงของ ส่ิงแวดล้อมภายในและตอบสนองเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ
ไฮโปทําลํามัส
ควบคุมการทำงานของ ANS และต่อมไร้ท่อ เพื่อรักษาความคงสภาพของร่างกายไว้ โดยการทางานของไฮโปทาลามัสอาศัยข้อมูลนำเข้าจากโครงสร้างหลายส่วนประมวลและวิเคราะห์เป็นคำส่ังมา ควบคุมการทำงาน ANS อีกที
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ปฏิกิริยาและการปรับตัวของระบบประสาทสั่งการ Motor system and higher brain function การเคลื่อนไหว การรู้สติ การนอนหลับ
Motor System ประกอบด้วยระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System: CNS)
หรือ Somatic Nervous Syste
ระบบประสาทส่วนกลางทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางรับประมวลวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลจากนั้นนำคำสั่งมายังอวัยวะเป้าหมายซึ่งทำงานภายใต้อำนาจจิตใจ
เซลล์ประสาท Nerve cell , Neuron
จำแนกชนิดของเซลล์ประสาทตามหน้าที่
เซลล์ประสาทประสานงาน (Interneuron)
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory neuron)
เซลล์ประสาทสั่งการ (Motor neuron)
เซลล์ประสาท (Nerve cell , Neuron)
และการส่งสัญญาณประสาท (Nerve Impulse)
การรู้สติและความผิดปกติความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการรู้สติ
การรู้สติหรือความรู้สึก(Consciousness) ภาวะที่รู้จักตนเองและสิ่งแวดล้อมเป็นการทำงานของระบบประสาทที่สาคัญ
วิเคราะห์ แปล ทำความเข้าใจกับสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้น ประกอบด้วย
การตื่นตัวหรือระดับความรู้สึกตัว(Arousal/
level of Consciousness:LOC) กลไกการทางานของสมอง เรียกว่า Ascending Reticular Activating System:ARAS)
เชาวน์ปัญญาหรือการรู้คิด(Content of Consciousness/cognitive)
Higher brain function
การพักผ่อนนอนหลับและผลกระทบของการนอนหลับผิดปกติ
วิถีประสําทในกํารควบคุมกํารนอน บทบําทของ sensory inputs, reticular formation และ cerebral cortex
แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง