Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ - Coggle Diagram
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระะบบถ่ายปัสสาวะส่วนบน Upper urinary tract
หน่วยไต Nephron ทำหน้าที่สร้างปัสสาวะ
กรวยไต renal pelvis ส่งมาตามท่อไต Ureter
ไตสองข้าง kidney กรองน้ำเเละของเสียออกจากโลหิตเป็นน้ำปัสสาวะ
ท่อไต Ureter นำน้ำปัสสาวะออกจากไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนล่าง Lower urinary tract
กระเพาะปัสสาวะ Urinary bladder
เป็นที่เก็บปัสสาวะชั่วคราวเมื่อได้จำนวนที่พอเหมาะจึงหดตัวบีบน้ำปัสสาวะไปสู่ท่อปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะ Urethra
เป็นทางผ่านของน้ำปัสสาวะจากกระเพราะปัสสาวะไปสู่นอกร่างกาย
Renal malformations
ความผิดปกติของไต
ความผิดปกติในปริมาณของเนื้อไต
Hypoplasia
Agnesis
Supernumerary Kidney
ความผิดปกติในตำแหน่ง รูปร่าง และ Orientation
Ectopia
Malrotation
Fusion of Kidneys
ความผิดปกติใน differentiation
ความผิดปกติในปริมาณของเนื้อไต
Potter syndrome
การแบ่งตัวของเซลล์ผิดปกติเป็นสาเหตุการเสียชีวิตแต่กำเนิดของทารก
แขนขาที่ผิดปกติบ่อยคือ รูปร่างผิดปกติโก่ง บิด ข้อเคลื่อน clubfoot
Potter facies หูติดต่ำ ผิวหนังย่น จมูกงุ้ม คางเล็ก
มีสีสันนูนเด่นที่หัวคิ้วทั้งสองข้าง
Hypoplasia
ภาวะที่ไตมีขนาดเล็กมากกว่าปกติร้อยละ 50
จำนวน renal lobule และ calyx ลดลงด้วย แต่เนื้อไตไม่มีความผิดปกติ
Agenesis ไตฝ่อหรือ ภาวะไม่มีเนื้อไต
Renal agenesis อาจจะเป้นข้างเดียวหรือสองข้า
ถ้าเป็นสองข้างเรียก Potter syndrome
ร่วมกับปอดไม่เจริญ แขนขาผิดรูปร่าง
และมีลักษณะใบหน้าที่เป็นจำเพาะ
Supernumerary kidney
ภาวะที่มีจำนวนไตมากกว่าสอง ส่วนใหญ่จะเป็นสามไต
ไตชั้นที่เกินจะแยกออกจากไตปติหรือเป็นภาวะไตแฝดที่ไตสองส่วนอยู่ติดกันแน่นเป็นไตเดียว
ความผิดปกติในตำแหน่ง รูปร่าง และ Orientation
Malrotation
ภาวะที่ไตมี renal pelvis และ ureter อยู่ทางด้านหน้า
Fusion หรือ Horseshoe kidney
การเชื่อมกันตรงกลางระหว่างเนื้อไตทั้งสองข้าง
Ectopia
ภาวะที่ไตอยู่ตำแหน่งที่ผิดปกติ เช่น อยู่ในอุ้งเชิงกราน
อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
ความผิดปกติในส่วนของ Ureter
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
เกิดจากเชื้อเเบคทีเรีย
มักเกิดในผู้หญิง เนื่องจากท่อปัสสาวะสั้น และรูปิดของท่อปัสสาวะอยู่ใกล้ทวารหนัก ทำให้เชื้อสามารถเข้าไปในท่อปัสสาวะ
สาเหตุ
เกิดการอักเสบของท่อปัสสาวะ
การกลั้นปัสสาวะ
มีสิ่งแปลกปลอมในท่อทางเดินปัสสาวะ
หลังการกระเทือนหรือหลังมีเพศสัมพันธ์
ดื่มน้ำน้อย ดื่มแอลกอฮอล์มาก
อาหารหรือยาบางอย่าง เช่น อาหารที่มีเกลือมาก
Vesicoureteral reflux
สาเหตุ
มีความผิดปกติของ sphincter
การบาดเจ็บภายนอก
การทำศัลยกรรมทางการแพทย์
การทำศัลยกรรมทางการแพทย์
พันธุกรรม
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะที่ออกจากกระเพาะปัสสาวะ
เป็นความผิดปกติที่เกิดจากมีการไหลย้อนกลับของน้ำปัสสาวะเข้าไปในหลอดไตและ renal pelvis
พบมากในเด็ก อาจทำให้มีการติดเชื้อเละเป็น สาเหตุหนึ่งของ
pyelonephritis
ท่อปัสสาวะ
ผู้ชายจะมีขนาดยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 20 ชม.และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3-4 มม.มีทั้งส่วนที่อยู่ภายในและภายนอกร่างกาย
ผู้หญิงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3-4 มม.เช่นเดียวแต่มีขนาดสั้นกว่ามาก ยาวเพียง ประมาณ 4 ชม.
และอยู่ในร่างกายทั้งหมด
ท่อปัสสาวะอักเสบ (Urethritis)
พบได้ในทุกอายุ ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุ
แต่มักพบได้สูงในวัยที่มีเพศสัมพ์ธิ์สูง คือ ช่วงอายุ 20-35 ปี
ผู้หญิงมีโอกาสติดเชื้อได้สูงกว่าผู้ชาย
เป็นการบาดเจ็บอักเสบบวมของเซลล์เยื่อเมือกบุท่อปัสสาวะเกิดจากหลายสาเหตุ ที่พบบ่อยที่สุด คือจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะจากเชื้อแบคทีเรีย
สาเหตุ
2.การติดเชื้อที่ไม่ใช่จากเพศสัมพันธ์
เช่น เชื้อ E.col หรือ เชื้อ Pseudomonas ซึ่งอาจติดต่อผ่านทางลำไส้หรือทางไต ทางกระเพาะปัสสาวะ
1.โรคติดต่อทางเพศสัมพันธิ์
ติดเชื้อจากโรคหนองใน หรือโกโนเรีย
จากเชื้อที่ไม่ใช่หนองใน เช่น โรคเริม โรคชิฟิลิสจากการติดเชื้อ HIV หรือ
โรคเอดส์
Ureteric Obstruction
สาเหตุ
หลอดเลือดตีบ อาจเป็นมาแต่กำเนิดหรือผลจากการอักเสบ
เนื้องอกของ Ureter
นิ่วที่หลุดออกมาจากส่วนของไต
เนื้องอกของอวัยวะใกล้เคียง เช่น ปากมดลูกและมดลูก
แต่ถ้าการอุดกั้นเกิดในส่วนล่างของหลอดไต อาจเกิดการโป่งพองของ
Ureter (Hydroureter)
การอุดกั้นเหล่านี้ทำให้ปีสสาวะที่สร้างแล้วขับถ่ายออกจากร่างไม่ได้หรือได้น้อย ทำให้เกิด Hydronephrosis ของไตข้างนั้น
Glomerular diseasases
2.พยาธิสภาพที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน
พบได้บ่อยคือ โรคไตจากเบาหวาน หรือจากการรักษาเบาหวาน เช่นการใช้ยากลุ่มซัลโฟนิลยูเริย ทำให้เกิดภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ
จึงเกิดภาวะขาด ADH ตามมา
จากภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน เช่นการติดเชื้อในระบบทางเต็นปัสสาวะ ความดันโลหิดสูงการติดเชื้อในกระแสเลือด
กลไกการเกิด
1.การกรองเพิ่มขึ้น (hyperfiltration)
ทำให้ขาดพลังงานในการหดตัว เกิดการขยายตัวของหลอดลือด
เลือดจึงไหลเวียนไปกรองที่ได้เพิ่มขึ้น
เนื่องจากกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดนำเลือดเข้าโกลเมอนูลัสมีระดับน้ำตาลภายในเซลล์ลตลง
2.การเปลี่ยนแปลงกลไกลการทำงานของ Renin
สำหรับผู้ป่วยโรคดจากเบาหวานจะพบ prorenin เพิ่มขึ้น
และหลั่งเรนินเข้าสู่กระแสเลือดลดลง
ทำให้เกิดภาวะ hyperkalemia
ภาวะกรดเกินเนื่องจากพยาธิสภาพที่หลอดฝอยไตและภาวะน้ำในตามมา
ปกติ juxtaglomerular cell มีหน้าที่สร้าง Proreninและเปลี่ยนเป็นเรนิน
1.พยาธิสภาพเกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน
Glomerulonephritis (GN) เป็นการอักเสบภายนอกไต
ส่วนใหญ่เป็นภาวะแพ้ภูมิตนเอง (autoimmunity)
เช่น Malaria, Syphilis, Hepatitis และ
Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
Tubulo-interstitial diseases
เป็นกลุ่มของโรคที่มีความผิดปกติในรูปร่างและหน้าที่ของ tubuleและinterstitium
เกิดจากหลายสาเหตุได้แก่ การติดเชื้อ immunological reaction
2.Chronic interstitial nephritis
พบinterstitial fibrosis, tubular atrophy mononuclear cell in
filtration
1.Acute interstitial nephritis
พบ interstitial edema ร่วมกับ leukocytic infiltration และ
tubular necrosis
Urinary tract obstruction
สาเหตุ
2.การอุดกั้นจากรอนโรคที่เกิดขึ้นภายหลังได้แก่ นิ่ว เนื้องอก การอักเสบ
ก้อน renal papillae ที่ตายหรือก้อนเลือด การตั้งครรภ์
3.ความผิดปกติของระบบประสาทที่ควบคุมการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ
1.ความพิการแต่กำเนิด
ส่งผลให้
1.ทางเดินปัสสาวะส่วนที่อยู่เหนือตำแหน่งที่มีการอุดตันขึ้นไปขยายตัว
2.มีโอกาสเกิดนี่วและการติดเชื้อเพิ่มขึ้น และทำลายเนื้อไตอย่างถาวร
Renal cystic diseases
1.Polycystic kidney disease
1.1 adult type
1.2 Infantile type
2.Medullary cyst
2.1 Medullary sponge kidney
2.2 Uremic Medullary cystic disease
3.Simple cyst
Urinary tract infection
กรวยไตอักเสบ pyelonephritis
Acute pyelonephritis
มีอาการไตบวมโตมีเลือดคั่งมากขึ้น พบดุดหนองกระจายเป็นทางจากผิว
ลึกลงไปในส่วน cortex, medulla และ renal pelvis
รายที่รุนแรง เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือรายที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะร่วมด้วย อาจมีการตายของrenal papilla เรียกว่า Renal papillary nerosis
เกิดทันทีและรุนแรง แต่เมื่อได้รับการรักษา จะหายได้ภายใน 2-3สัปดาห์
Chronic pyelonephritis
เป็นการอักเสบไม่รุนแรง แต่เป็นๆหายๆ
ไตจะมีขนาดเล็กลง ผิวขรุขระ เนื่องจากรอยแผลเป็นที่เกิดจากการทำลายของเนื้อไต แล้วแทนที่ด้วย Fibrosis ร่วมกับDeformity ของ calyx ที่อยู่ใกล้เคียง
มักเกิดจากการควบคุมสาเหตุของโรคไม่ได้ เช่น นิ่วในไตเรื้อรัง หรือ ต่อมลูกหมากโต
Nephrocalcinosis
กลไกการเกิด
เมื่อเลือดไปกรองที่ได้แคลเชียมส่วนหนึ่งจะถูกดึงไว้ในกระดูกส่วนที่เหลือจะถูกขับออกทางปัสสาวะ
เมื่อเลือดมีแคลเซียมสูง ร่างกายจะชับแคลเซียมออกไม่หมดเกิดการตกตะกอนของแคลเชียมในเนื้อไต
การมีระบบแคลเชียมในเลือดสูง
ภาวะที่มี calcium สะสมในเนื้อไตเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดนิ่วในไต
สาเหตุเกิดจาก Hypercalcemia