Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fetal distress - Coggle Diagram
Fetal distress
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การดิ้นของทารกในครรภ์
ลักษณะและสีของน้ำคร่ำ
การสังเกตและบันทึกการดิ้นของทารก
หากทารกหยุดดิ้นนานกว่า 1 ชั่วโมงถือว่าผิดปกติ
หากทารกดิ้นมากขึ้นและแรงขึ้นทันทีทันใดแล้วหยุดนิ่งแสดงว่าเกิดภาวะ acute fetal distress
การตรวจระดับ estriol ในปัสสาวะและเลือดของผู้คลอด
อายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์ estriol in urine ~ 30 – 40 mg.
ถ้าต่ำกว่าปกติแสดงว่าทารกในครรภ์อยู่ในภาวะอันตราย
Electronic fetal heart rate monitoring (fetal cadiotocography)
Non-stress test (NST)
Contraction stress test (CST)
Meconium stained of amniotic fluid
Fetal scalp blood sampling
Ultrasound
Biophysical Profile (BPP)
fetal acoustic stimulation test
อาการและอาการแสดง
Abnormal FHR pattern
Late deceleration
Variable deceleration
Meconium stained of amniotic fluid
Hypoactivity
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
Uteroplacental insufficiency (UPI)
Uterine hyperactivity
Maternal hypotention
supine position
ตกเลือด
Placental dysfunction
PIH
GDM
Anemia
Umbilical cord compression
ในรายที่มีน้ำคร่ำน้อย
ในรายที่สายสะดือย้อย
การรักษา
Intrauterine resuscitation
ให้มารดานอนตะแคงซ้าย
ให้ O2 canular 4-5 ลิตร/นาที แก่มารดา
หยุดให้ยาเร่งคลอด
แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำในมารดา
ให้คลอดเร็วที่สุด
extrauterine resuscitation
การพยาบาล
การป้องกันการเกิดภาวะทารกในครรภ์มีภาวะคับขัน
ระยะตั้งครรภ์
ประเมินและวินิจฉัย โดยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในระยะตั้งครรภ์
แนะนำเกี่ยวกับการสังเกตและนับการดิ้นของทารก
แนะนำให้มาฝากครรภ์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
ระยะคลอด
ฟัง FHS ทุก 30-60นาที
ประเมิน UC ทุก 30-60นาที
ในรายที่ได้รับยา Oxytocin ควรติดตามการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
การพยาบาลเมื่อทารกในครรภ์มีภาวะคับขัน
จัดให้นอนตะแคงซ้าย
พบ FHS ผิดปกติ หรือพบขี้เทาในน้ำคร่ำ
ในรายที่ได้รับยาเร่งคลอดให้หยุดทันที
รายงานกุมารแพทย์เพื่อเตรียมการทำextrauterine resuscitation
ทั้งปลอบโยนและให้กำลังใจสนับสนุนทางด้านจิตใจ
ความหมาย
ทารกอยู่ในภาวะอันตรายซึ่งหากไม่ได้รับการช่วยเหลือทันเวลาอาจมีอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้