Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure) - Coggle…
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure)
ผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่สมอง เช่น เนื้องอกสมอง หรือภายหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ มีแนวโน้มที่จะเกิด ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงภายใน 24-72 ชั่วโมงแรก และมีโอกาสเกิดได้สูงสุดใน 6 ชั่วโมงแรก หลังผ่าตัด7
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ
อาเจียนพุ่ง
ตัวมัว เห็นภาพซ้อน
ระดับความรู้สึกตัวลดลง Glasgow coma score และประเมิน content ของความรู้สึกตัวด้วยการซักถาม orientation ต่อ บุคคล เวลา และสถานที่ ผิดปกติ
มีไข้สูง
Cushing’s triad (ชีพจรช้า หายใจช้า ความดันโลหิตสูง)
Cheyne-Stokes respiration
widened Pulse pressure > 60 mmHg.
Pupil เปลี่ยน ตอบสนองต่อแสงผิดปกติ
ตาพร่ามัว และเส้นประสาทตาบวม (papilledema) ตรวจพบ papilledema ได้นั้นผู้ป่วยจะต้องมีภาวะ IICP มาแล้วอย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด IICP
ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (>45); vasodilatation
เนื้อเยื่อสมองมีเลือดไปเลี้ยงลดลง; ท่านอนไม่เหมาะสม
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ (<60)
ภาวะการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อสมอง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การบาดเจ็บ/เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วย อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
ประเมินระดับความรู้สึกตัว (LOC)
Glasgow Coma Scale (GCS)
Vital signs Cushing's triad
pupil reaction, size, conjugate
การพยาบาลที่สำคัญ
จัดท่าศีรษะสูง 30 องศา การจัดท่าของผู้ป่วยก็มีความสำคัญ ท่าที่ศรีษะสูงเล็กน้อยร่วมกับศรีษะอยู่ในแนวตรง ไม่บิดมากเกินไปหรือก้มมากไป จะทำให้เลือดดำจากสมองไหลกลับสู่หัวใจได้ดีขึ้น ไม่ก้มหรือเงยมากเกินไป เลี่ยงการงอข้อสะโพกที่การนอนท่าคว่ำหรือศีรษะต่ำกว่าปลายเท้า
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทำให้เพิ่มความดันในช่องอกแรงดัน เช่น การมีลมหรือเลือดในช่องอก หลอดลมตีบแคบ ท่อช่วยหายใจพับงอ หรือ การใช้ PEEP มากเกินไป เป็นต้น ซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะทำให้เลือดดำจากสมองไหลเข้าสู่หัวใจในช่องอกยากเป็นผลให้ ICP เพิ่มมากขึ้นได้
ให้ออกซิเจนภาวะ Hypocapnia ที่เหมาะสม ทำให้เกิด Cerebral vasoconstriction โดยไม่เป็นอันตรายต่อเนื้อสมอง การ Hyperventilation เป็นระยะเวลานาน ๆ ทำให้ผลของการลด ICP น้อยลง แต่การเพิ่มขึ้นของ PaCO2 อย่างรวดเร็ว ทำให้ CBF เพิ่มขึ้นอย่างมาก และ ICP เพิ่มขึ้นในที่สุด ในผู้ป่วยที่ให้ความร่วมมือจะสามารถทำHyperventilation ได้เอง ส่วนผู้ป่วยที่มี ICP เพิ่มขึ้นมาก และ Glasgow coma score (GCS) น้อยกว่า 8 ควรรีบใส่ท่อช่วยหายใจ และ Hyperventilation
ดูแลอุณหภูมิ
IV fluid ประเมิน intake & output
ดูแลให้ได้รับยา