Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการแห่งชีวิต - Coggle Diagram
พัฒนาการแห่งชีวิต
พัฒนาการของมนุษย์
คนเราดำเนินไปอย่างมีแบบแผนที่ละขั้น
พัฒนาการของทารก
เริ่มคว่ำก่อนคืบ
คืบก่อนคลาน
คลานก่อนนั่งหรือยืน
คนเราดำเนินไปพร้อมกันทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
ส่วนสูงและน้ำหนักเพิ่มขึ้น
การทางอารมณ์
สามารถควบคุมพฤติกรรมขณะเกิดอารมณ์ได้ดีขึ้น
การทางสังคม
ปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่นได้มากขึ้น
การทางสติปัญญา
มีความคิดอ่านเป็นของตัวเองมากขึ้น
เริ่มจากส่วนหยาบไปหาส่วนย่อย
เด็กจะสามารถจับของใหญ่ๆ ด้วยนิ้วทุก
นิ้วได้ ก่อนจับของเล็กๆ เพียง 2-3 นิ้ว
บุคคลมีอัตราการพัฒนาการที่ไม่เท่ากัน
เด็กบางคนอาจคว่ าได้เมื่ออายุ4 เดือน
บางคนอาจคว่ำเมื่ออายุ5 เดือน
เด็กบางคนอาจเริ่มอ้อแอ้เมื่ออายุ8 เดือน
บางคนอาจเริ่มเมื่ออายุได้6 หรือ10 เดือน
สามารถทนายได้
เพราะพัฒนาการเป็นการเปลี่ยนแปลงที่มีแบบแผน
เมื่อเด็กเริ่มตั้งไข่เราก็จะบอกได้ว่า
ขั้นต่อไปของเขา
คือจะยืนได้เองนานๆ และจะเดินเองได้ในที่สุด
พัฒนาการของบุคคลวัยต่างๆ
พัฒนาการวัยก่อนคลอด (Prenatal Period)
เริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิจนกระทั่งคลอด
ระยะไข่ตก (Ovulation)
ระยะตั้งแต่แรกเกิด ถึง 2 สัปดาห์แรกที่ไข่ได้รับการผสมกับอสุจิ
และมีการแบ่งเซลล์ต่างๆ เกิดขึ้นซึ่งมีลักษณะเหมือนตัวมันเอง
ระยะที่เป็นตัวเด็ก (Fetal Stage)
เริ่มตั้งแต่เดือนที่ 3 จนกระทั่งคลอด
เป็นระยะของการเจริญเติบโตของอวัยวะที่สร้างขึ้นในระยะตัวอ่อน
ระยะตัวอ่อน (Embryonic Stage)
ระยะตั้งแต่สัปดาห์ที่ 3 ถึง สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์
เป็นระยะที่มีการสร้างอวัยวะที่สำคัญต่างๆ
พัฒนาการวัยทารก (Infancy and Babyhood Period)
เป็นวัยที่สำคัญอย่างยิ่งสำหรับการวางรากฐานของชีวิต
วัยนี้เริ่มตั้งแต่คลอดออกจากครรภ์มารดา
จนถึงประมาณ 1 ปีแรกของชีวิต
เป็นวัยที่ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ทารกต้องพัฒนาและปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
เพื่อให้มีชีวิตอยู่รอดได้
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
การหายใจ
การดูดกลืนอาหาร
พัฒนาการวัยเด็ก (Childhood Period)
วัยเด็กอยู่ในช่วงอายุ 2 – 11 ปี
เป็นวัยที่จะก้าวไปสู่วัยผู้ใหญ่ในอนาคต
บุคคลที่ใกล้ชิดเป็นบุคคลที่สำคัญ
ในการให้การอบรมเลี้ยงดู
การกระตุ้นให้อยู่ด้วยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
ให้เด็กเติบโตมีบุคลิกภาพที่ดี
มีสุขภาพกาย
มีจิตที่สมบูรณ์
วัยนี้จะมีพัฒนาการทางสติปัญญาอย่างรวดเร็ว
การพัฒนาเอกลักษณ์ของตนเอง
โดยจะรับเอาทัศนคติและพฤติกรรมจากพ่อแม
พัฒนาการวัยรุ่น (Adolescent Period)
วัยรุ่นเป็นช่วงรอยต่อระหว่างวัยเด็กกับวัยผู้ใหญ่
มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายอย่างเห็นได้ชัดเจน
ด้านโครงสร้าง
การทำงานของอวัยวะต่างๆ
วัยรุ่นชาย
เป็นหนุ่มขึ้น
เสียงแตก
หนวดเคราขึ้น
วัยรุ่นหญิง
เป็นสาวขึ้น
เต้านมมีขนาดโตขึ้น
สะโพกผายออก
เริ่มมีประจำเดือนครั้งแรก
การเข้าสู่วัยรุ่นของเด็กชายจะช้ากว่าเด็กหญิง 2 ปี
เด็กชายจะเข้าสู่วัยรุ่นตอนอายุประมาณ 13 ปี
เด็กหญิงจะมีอายุประมาณ 11 ปี
วัยรุ่นเป็นวัยที่มีอารมณ์ที่ค่อนข้างรุนแรง
พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ (Adulthood Period)
อยู่ในช่วงอายุโดยเฉลี่ยราวๆ 50ถึง 60 ปี
นักจิตวิทยาพัฒนาการจึงแบ่งช่วงวัยผู้ใหญ่ออกเป็น 3 ช่วง
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
วัยชรา
วัยผู้ใหญ่มีการเลือก
การประกอบอาชีพ
การเลือกคู่ครอง
การปรับตัว
ในชีวิตสมรส
เพื่อทำหน้าที่บิดามารดา
เข้ากับกฎเกณฑ์ทางสังคม
เป็นวัยที่มีความมุ่งมั่น
สร้างฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม
ในการสร้างครอบครัว
การเตรียมพร้อมที่จะใช้ชีวิตบั้นปลายในวัยชราอย่างมีความสุข
พัฒนาการ
กาย
ด้านโครงสร้างการเจริญเติบโต
ส่วนสูง
น้ำหนัก
ความแข็งแรงของร่างกาย
กล้ามเนื้อ
การเคลื่อนไหว
การทรงตัว
สติปัญญา
ด้านภาษาความสามารถในการเรียนรู้
การรู้คิด
การรู้เหตุผล
การแก้ปัญหาด้านการเรียนรู้สิ่งต่างๆ
ประสาทสัมผัส
ตา
หู
ลิ้น
จมูก
อารมณ์
ด้านการแสดงความรู้สึก
การแยกแยะความลึกซึ้ง
การแสดงออกทางอารมณ์
อย่างเหมาะสม
การสร้างความความรู้สึกที่ด
ทำให้คนอื่นนับถือตน
สังคม
ความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างอย่างสร้างสรรค
การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
การเรียนรู้ที่จะปฏิบัติตัวเพื่อให้สังคมยอมรับ
ทำตัวให้เข้ากลุ่มได้
รู้จักการให้และรับ
รู้จักแบ่งปัน
ทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวข้องพัฒนาการ
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
(Freud’s Theory of Personal Development)
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
เป็นบิดาแห่งจิตวิเคราะห์(Psychoanalysis)
เป็นแพทย์ที่ให้ความสนใจด้านจิตวิทยา
เป็นทฤษฎีทางด้านการพัฒนาจิตวิทยาทางเพศ
(Psychosexual Development)
เน้นให้เห็นความสำคัญด้านแรงพลักดันทางเพศ
มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์
ระยะพัฒนาการของมนุษย์
ขั้นที่ 1 ระยะปาก (Oral Stage)
เด็กในวัยทารกจะมีความสุขความพึงพอใจในการใช้ปาก
ดูด
กลืน
กัด
เคี้ยว
เด็กไม่ได้รับความพึงพอใจจะเกิดปัญหาในตอนโต
เด็กจะมีลักษณะนิสัย
Oral Fixation
ดูดนิ้วมือ
อมหรือเคี้ยวสิ่งของเสมอ
ขั้นที่ 2 ระยะทวารหนักหรือขับถ่าย (Anal Stage)
อายุประมาณ 2-3 ปี
เด็กจะมีความพึงพอใจในการขับถ่าย
หากไม่ได้รับการตอบสนองในการกลั้นและขับถ่าย
เด็กจะมีลักษณะนิสัย
Anal Fixation
เจ้าระเบียบ
ก้าวร้าว
ขั้นที่ 4 ระยะแฝง (Latency Stage)
อายุประมาณ 6-12 ปี
เด็กให้ความสนใจต่อพัฒนาการ
ด้านสติปัญญา
ด้านสังคม
ชอบคุย ชอบเล่นกับเพื่อนเพศเดียวกัน
เด็กมีความสุขในการเล่น
สมมุติบทบาทเป็น พ่อ แม่ลูก
ขั้นที่ 3 ระยะอวัยวะเพศ (Phallic Stage)
อายุประมาณ 3-6 ปี
เด็กมีความพึงพอใจในการจับอวัยวะเพศของตนเอง
สนใจอวัยวะเพศตนเอง
สนใจความแตกต่างระหว่างหญิงและชาย
เด็กเริ่มสนใจความรักจากพ่อแม่ที่มีเพศตรงข้ามกับตนเอง
เด็กชายจะรักแม่
เด็กหญิงจะรักพ่อ
ขั้นที่ 5 ระยะสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage)
อายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไป
เด็กเริ่มสนใจเพศตรงข้าม
ต้องการความรัก
หากเด็กไม่ได้รับความสนใจ
และความรู้เรื่องเพศอย่างเหมาะสมแล้ว
จะทำให้เด็กประสบปัญหาเรื่องเพศเป็นอย่างมาก
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจท์
(Piaget’s Theory of Cognitive Development)
จีน เพียเจท์
พัฒนาการทางสติปัญญาของชีวิตมนุษย์ที่รู้จักกันแพร่หลายในชื่อ “Cognitive Development Theory”
พัฒนาการทางความรู้และความเข้าใจหรือทางสติปัญญา
การที่บุคคลสามารถปรับตัวให้เข้าสภาพแวดล้อม
ขั้นตอนพัฒนาชีวิต
ขั้นที่ 1 ระยะของการใช้ร่างกายและประสาทสัมผัส
อายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี
พฤติกรรมของเด็กอยู่กับการเคลื่อนไหว
โดยอาศัยประสาทสัมผัสและอวัยวะมอเตอร์
นี้เป็นการเรียนรู้พื้นฐานในการสร้างสติปัญญาของเด็ก
และเป็นการเรียนรู้ความแตกต่างระหว่างตนเองกับสิ่งแวดล้อม
ขั้นที่ 3 ขั้นของการใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม
อายุ 7-11 ปี
เป็นระยะที่เด็กสามารถคิดอย่างมีเหตุผลเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
เรียนรู้เกี่ยวกับการคำนวณตัวเลข
เด็กมีความคิดเข้าใจสิ่งแวดล้อมที่เป็นรูปธรรมได้
สามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งหรือเหตุการณ์ต่างๆ
ความเย็น
น้ำ
เปียก
ขั้นที่ 2 ระยะของการเริ่มมีความคิดความเข้าใจ
อายุ 2-7 ปี
เป็นวัยที่เด็กเริ่มพัฒนาการใช้สัญลักษณ์ต่างๆ
มีการเรียกชื่อสิ่งของ
ชอบเล่นสมมุติ
ยึดถือตนเองเป็นศูนย์กลาง
ขั้นที่ 4 ขั้นของการใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม
อายุ 11-15 ปี
เป็นขั้นสูงสุดของการพัฒนาความเข้าใจของเด็ก
เป็นวัยที่เด็กใช้เหตุผลเชิงตรรกะและคิดทบทวนไปมาได้อย่างว่องไว
สามารถแก้ปัญหาเชิงนามธรรม
เด็กจะมีความคิดสร้างสรรค์ โดยเริ่มตั้งแต่นำข้อมูลมาสร้างสมมติฐาน
และสร้างข้อสรุปกฎเกณฑ์ต่างๆ
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน
อีริค อีริคสัน
นักจิตวิทยาวิเคราะห์ได้สร้างแนวคิดทฤษฎี
“Psychosocial development”
แบ่งพัฒนาการตามความต้องการทางสังคมของบุคคล
ขั้นที่ 1 ระยะ ความไว้วางใจและความไม่ไว้วางใจ
อายุตั้งแต่แรกเกิด -1 ปี
ปีวัยนี้เด็กต้องอาศัยผู้อื่นโดยเฉพาะแม่
การที่เด็กได้รับการตอบสนองในสิ่งที่เขาต้องการ
เกิดความรู้สึกไม่ไว้วางใจจากสิ่งที่มีอยู่รอบตัว
เด็กเรียนรู้ที่จะเกิดความรู้สึกไว้วางใจ
ขั้นที่ 3 ระยะมีความคิดริเริ่มกับความรู้สึกผิด
อายุระหว่าง 4-5 ปี
เด็กเริ่มเรียนรู้บทบาททางสังคม
มีความผูกพันกับพ่อแม่น้อยลงแต่มีความสัมพันธ์กับเพื่อน
เด็กเรียนรู้ที่จะมีความคิดริเริ่มที่จะทำกิจกรรมต่างๆ
และมีความสนุกสนานกับสิ่งที่ได้คิดริเริ่ม
ขั้นที่ 2 ระยะที่มีความอิสระกับความสงสัยไม่แน่ใจ
อายุ1-3 ปี
เด็กเริ่มเรียนรู้การช่วยเหลือตนเอง
การขับถ่าย
การรับประทานอาหาร
การเดิน
ถ้าเด็กไม่ได้รับการสนับสนุนที่เหมาะสมจะทำให้เด็กเกิดความไม่มั่นใจ
ในตนเองว่าเขามีความสามารถทำสิ่งต่างๆโดยตนเองได้
ขั้นที่ 4 ระยะมีความขยันหมั่นเพียรกับความรู้สึกมีปมด้อย
อายุ 6-11 ปี
เด็กมีทักษะทางร่างกายและสังคมมากขึ้น
โดยไม่ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่
เด็กจะพัฒนาความรู้สึกขยันหมั่นเพียร
และความรู้สึกอยากรู้อยากเห็น
และกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้
ขั้นที่ 5 ระยะการมีเอกลักษณ์ของตนเองกับความไม่เข้าใจตนเอง
อายุ 12-20 ปี
เป็นระยะที่เด็กสนใจเรื่องเพศ
รู้จักตนเองว่าเป็นใคร
มีความสามารถ
รู้ว่าถนัดด้านใด
ขั้นที่ 6 ระยะความใกล้ชิดสนิทสนมกับความรู้สึกโดดเดี่ยวอ้างว้าง
อายุ 21-25 ปี
คนที่ประสบความสำเร็จ
คนที่ค้นพบเอกลักษณ์ของตนเองในขั้นที่แล้ว
เขาก็จะมีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์
อย่างมีความหมายกับบุคคลอื่น
เพื่อน
คนรัก
ส่วนคนที่ไม่สามารถปรับตัวเอง
เกิดความรู้สึกอ้างว้างโดดเดี่ยว
ไม่มีความผูกพันใกล้ชิดกับบุคคลใดเป็นพิเศษ
ขั้นที่ 7 ระยะการให้กำเนิดและเลี้ยงดูบุตรกับการใฝ่ใจอยู่กับตนเอง
อายุตั้งแต่ 26 ปี ขึ้นไป
เป็นวัยผู้ใหญ
คนที่ประสบความสำเร็จในขั้นนี้จะเป็นผู้ใหญ่
ที่เต็มใจที่จะมีครอบครัวและบุตร
คนที่ไม่ประสบความสำเร็จในขั้นนี้จะมีลักษณะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง
ทำอะไรจะคิดถึงแต่ตัวเองโดยไม่คิดถึงผู้อื่น
และไม่มีความกระตือรือร้นที่จะทำสิ่งต่างๆ
ขั้นที่ 8 ระยะความมั่นคงทางจิตใจกับความสิ้นหวัง
เป็นวัยของการยอมรับความจริงของชีวิต
บุคคลจะระลึกและทบทวนความทรงจ าในอดีต
ทบทวนแล้วเห็นว่าสิ่งต่างๆในชีวิต
มีความสุข
มีคุณค่า
จะเป็นคนที่ประสบความสำเร็จในขั้นนี้
ในทางตรงกันข้ามคนที่สิ้นหวัง
ไม่ประสบความสำเร็จในจุดมุ่งหมายของชีวิตก็จะรู้สึกล้มเหลว
เสียดายเวลาที่ผ่านมา
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของซัลลิแวน
(Sullivan's Interpersonal Theory)
แฮรี่ เอช.ซัลลิแวน (Henry S. Sullivan)
เป็นนักจิตวิทยาสกุลจิตวิทยาวิเคราะห์แนวใหม่ชาวอเมริกัน
ได้สร้างทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Theory)
บุคลิกภาพจะปรากฏออกมาเมื่อบุคคล
แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับกับบุคคอื่น
ความสัมพันธ์นั้นอาจจะแสดงออกมาในรูปแบบ
ความคิด
ท่าที
ความรู้สึก
ลักษณะนิสัยต่างๆของกระบวนการทางจิต
การเรียนรู้
ความคิด
การจดจำ
แบ่งพัฒนาการของบุคลิกภาพ
ขั้นที่ 1 วัยทารก (Infancy)
วัยนี้เป็นการตอบสนองความต้องการทางปาก
เด็กเริ่มสร้างสัมพันธภาพจากการสัมผัส
การอบรมเลี้ยงดูและการให้อาหารเป็นสิ่งสำคัญ
ขั้นที่ 2 วัยเด็กตอนต้น (Childhood)
อายุตั้งแต่ 2- 4 ปี
เด็กเริ่มเรียนรู้ภาษา
เด็กจะสร้างภาพนึกโดยผูกพันเกี่ยวกับเรื่องเพศ
การใช้เหตุผลช่วยในการทำความเข้าใจกับคนอื่น
ทำให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสมเกี่ยวกับเพศของตนเอง
เด็กผู้หญิงเล่นเป็นแม่เด็กผู้ชายเล่นเป็นพ่อ
เด็กในวัยนี้
มีความกังวล
หลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ
มักจะมีความขัดแย้งกับพ่อแม่ ครูและเพื่อน
ขั้นที่ 3 วัยเด็กตอนกลาง (Juvenile)
อายุตั้งแต่ 4- 11 ปี
เป็นระยะที่เริ่มยอมรับอำนาจทางสังคมภายนอก
มีการร่วมมือ
การแข่งขัน
การเรียนรู้
การอยู่ในกลุ่มพวกจะเกิดขึ้น
วัยนี้
จะสามารถใช้ความคิดเป็นเหตุเป็นผล
รู้จักเลือกอันดับสิ่งสำคัญก่อนหลัง
เริ่มเข้าใจถึงวิธีการที่จะดำเนินชีวิตในสังคม
ทำให้เกิดการปรับตัวอย่างเหมาะสม
ขั้นที่ 4 วัยเริ่มย่างเข้าสู่วัยรุน (Pre - Adolescence)
อายุตั้งแต่ 11- 13 ปี
ระยะวัยแรกรุน
มีความผูกพันกับเพื่อนเพศเดียวกัน
ระยะที่เริ่มรู้สึกอย่างแท้จริง
เรื่องความเท่าเทียมกัน
การเป็นผู้ให้และผู้รับ
สัมพันธภาพกับผู้ใหญ่จะลดความสำคัญลง
สัมพันธภาพกับเพื่อนมากขึ้น
ขั้นที่ 5 วัยรุ่นตอนต้น (Early Adolescence)
อายุตั้งแต่ 13 - 17 ปี
เป็นระยะที่สร้างสัมพันธภาพกับเพื่อนต่างเพศ
(Hetero - sexual Activities)
เริ่มสนใจเพื่อนต่างเพศเพราะร่างกายมีการเปลี่ยนแปลง
ถ้าพ่อแม่เลี้ยงดูเด็กแบบเก็บกดมากเกินไป
อาจทำให้เด็กมีพฤติกรรมแสดงออกทางรักร่วมเพศได้
ขั้นที่ 6 วัยรุ่นตอนปลาย (Late Adolescence)
อายุตั้งแต่ 17 - 20 ปี
เป็นวัยที่มีวุฒิภาวะ
มีภาระมากในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
มีหน้าที่รับผิดชอบ
เป็นวัยที่ต้องดำเนินชีวิตตามความคาดหวังของสังคม
ขั้นที่ 7 วัยผู้ใหญ่
อายุตั้งแต่ 21 ปีขึ้นไป
เป็นวัยที่สร้างความสัมพันธ์ในเรื่องความรักกับบุคคลอื่น
วัยนี้การมีความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นเป็นสิ่งสำคัญ
บุคคลจะพัฒนาความสัมพันธ์กับบุคคลต่างเพศ
ในเรื่องที่ไมใช่ธุรกิจการงาน
แต่ในลักษณะให้ความพึงพอใจ
ในชีวิตเป็นสำคัญและลึกซึ้งลงไปในขอบข่ายของความสนใจ
ความหมาย
พัฒนาการ
ลำดับของการเปลี่ยนแปลง
เป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงของคุณภาพ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์
เป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงของคุณภาพ
การเจริญเติบโต
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางร่างกาย
น้ำหนัก
ส่วนสูง
กระดูก
กล้ามเนื้อ
รูปร่าง
เป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงของปริมาณ
องค์ประกอบ
วุฒิภาวะ (Maturation )
เป็นพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเองตามธรรมชาติ
เป็นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ
ไม่ต้องมีการสอน
สามารถพยากรณ์ได้
การเรียนรู้( Learning )
การฝึกฝน
การฝึกหัด
การหาประสบการณ์