OIP
C.K. Prahalad (Core Competency)

ประวัติ

C.K.Prahalad มีชื่อจริงว่า Coimbatore Krishnarao Prahalad

เกิดเมื่อ : วันที่ 8 สิงหาคม 1941


สัญชาติ : อเมริกันอินเดียน


ความเป็นพลเมือง : อินเดีย

อาชีพ : ศาสตราจารย์


ศานา : อินดู


คู่ครอง : Gayatri


เสียชีวิตเมื่อ : 16 เมษายน 2010 (อายุ 68 ปี)

ภูมิหลัง

ค.ศ.1956
เมื่ออายุ15 ปี สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโคอิมบาโตร์เร็วกว่ากำหนด 3 ปี
ค.ส. 1960
เข้าฝึกงานที่ยูเนี่ยนคาร์ไบด์
ค.ศ. 1962
ได้รับการเลื่อนตำแหน่งให้เป็นผู้จัดการ เมื่อเพียง 20 ปี อายุน้อยที่สุดเท่าที่เคยมีมา
ค.ศ. 1966
สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ (MBA) Ahmedabad University ไปทำงานที่ INDIAN PISTONS เป็นบริษัทด้านการผลิตลูกสูบ
ค.ศ. 1970
แต่งงานกับ GAYATRI มีลูกสองคน ลูกชาย MURALI KRISHNA และลูกสาว DEEPA RITA
ค.ศ.1975
เข้าศึกษาต่อที่ ฮาร์วาร์ด ในหลักสูตร DBA (ปริญญาเอกในการ บริหารธุรกิจ) เขาสำเร็จ การศึกษา DBA ใน 2.5 ปี
ค.ศ.1977
กลับมายังอินเดียพร้อมกับครอบครัว และเข้าทำงานที่ (Indian Institute Of Management Ahmedabad) IIM-A ในตำแหน่งอาจารย์ผู้สอน จากนั้นได้รับการว่าจ้างจาก School of Business Administration แห่งมหาวิทยาลัยมิชิแกน และได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์เต็มตัว
ค.ศ. 2005
ได้รับรางวัล ศาสตราจารย์มหาวิทยาลัยดีเด่น เขาสอนจนเสียชีวิต ในปี 2010

เกียรติประวัติและรางวัล

ในปี 2000 เขาเป็นผู้รับรางวัลLal Bahadur Shastri
โดยประธานาธิบดีแห่งอินเดียShri KR Narayanan เป็นรางวัลเพื่อความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ

🏁
Concept ของ BoP เมื่อนํามาปรับใช้กับสังคมไทย
1.สังคมทางเลือก
2.สังคมแห่งโอกาส
3.สังคมแห่งพลัง
4.สังคมแห่งความเป็นธรรม
“การสร้างคน ไม่ใช่มอง แค่เรื่อง Education แต่มองแบบ Totality”

แนวคิด และ ทฤษฎีของ
C.K. Prahalad

2. ขุมทองใต้ฐานของพีระมิด
(The Fortune at the Bottom of the Pyramid)
🚩

1. ความสามารถหลักขององค์กร
(The Core Competence of the Corporation)
🚩
เรื่องที่องค์กรชำนาญที่สุด และเป็นขีดความสามารถพิเศษในเชิงกลยุทธ์เป็นแกนหลักที่ทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

แบบจำลองความสามารถหลัก

1.ทักษะและฐานความรู้ ความรู้และทักษะที่รวมอยู่ในคน เป็นมิติที่มักเกี่ยวข้องกับ ความสามารถหลักและส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ (NPD) อย่างชัดเจนที่สุด มิตินี้ครอบคลุมทั้งเทคนิคเฉพาะ ของบริษัทและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์


2.ระบบเทคนิค ความรู้ที่ฝังอยู่ในระบบซึ่งเป็นผลจากการสะสม ประมวล และจัดโครงสร้างความรู้

3.ระบบการจัดการ มิติที่สามนี้ คือ ระบบการจัดการ แสดงถึงวิธีการสร้างองค์ ความรู้ที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ

4.ค่านิยมและบรรทัดฐาน สิ่งที่แสดงถึงคุณค่าที่กำหนดภายในบริษัท เช่น วิศวกรรม คอมพิวเตอร์กับความเชี่ยวชาญด้านการตลาด ซอฟต์แวร์โอเพ่น ซอร์สเทียบกับระบบที่เป็นกรรมสิทธิ์ และวิธีการจัดการองค์ ความรู้ ซึ่งเป็นแบบแผนที่ใช้ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ

แนวคิดความสามารถหลักขององค์กร

องค์กรจะต้องพัฒนา ความสามารถที่โดด เด่นของตนเองขึ้นมา

เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดคุณค่า หรือประโยชน์ และเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดโอกาส หรือการขยายตัวเข้าสู่ ธุรกิจใหม่ๆ ได้

เมื่อองค์กรที่มี “ความสามารถหลัก” (The Core Competence of the Corporation)

การได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competitive Advantage)

ในด้านเศรษฐศาสตร์ ก้นปิรามิดมีประชากร 4 พันล้านคน ที่มีรายได้ไม่ถึง 2 ดอลลาร์ต่อวัน

“Bottom of the Pyramid” (BoP) ถูกใช้ครั้งแรกโดยประธานาธิบดีสหรัฐ Franklin D.Roosevelt ในปี 1932

วลี “Bottom of the Pyramid” ถูกใช้โดยเฉพาะโดยที่จะพัฒนารูปแบบการทำธุรกิจใหม่ๆที่สนใจกำหนดเป้าหมายไปยังภูมิภาคที่ยากจนที่สุด

60158

60160

🚩
Leadership ผู้นำในยุค ศตวรรษที่ 21 ตามความเห็นของ C.K.Prahalad


1.ผู้นำต้องมีหน้าที่นำ และเห็นอนาคตข้างหน้าใน 10 ปี แล้วปรับองค์กรทั้งระบบ ก้าวไปข้างหน้า เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงตรงนั้น


2.ผู้นำต้องสามารถรวมคนที่มีความเก่ง แต่ไม่มีความปรองดองเข้าไว้ด้วยกัน ทำพวกเขาให้เป็นเหมือนสุนัขเลี้ยงแกะ ซึ่งกฏคือ “สุนัขต้องตามฝูงแกะห้ามนำเด็ดขาด” :


3.ผู้นำต้องสร้างแรงบันดาลใจ ให้ทำในสิ่งที่ดี สำหรับองค์กร ชุมชน และส่วนรวม ❤

นางสาวนธิตรา ปิ่ณทะศิริ ป.โท บริหารการศึกษา แผน ก ห้อง 2 รหัส 64121278032