Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรู้สติ การรรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว, เซลล์พี่เลี้ยงหรือเซลล์ค้ำจุน…
การรู้สติ การรรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว
ส่วนประกอบเซลล์ประสาท
ตัวเซลล์ประสาท(Cell body ; Soma )
แขนงประสาท (Cell Processes)ประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่นำสัญญาณประสาทเข้าสู่ตัว เซลล์ เรียกว่า เดนไดรต์(Dendrites) และส่วนที่ทำหน้าที่นำสัญญาณประสาทออกจากเซลล์
เรียกว่า แอกซอน(Axon) โดยส่วนที่มีเยื่อหุ้มไมอิลีน เรียกว่า Myelinated axon และที่ไม่มีเยื่อหุ้มไมอิลีน เรียกว่า Unmyelinated axon
วิถีประสาท (Nerve Pathway)
เป็นเซลล์ประสาท (นิวรอน) ที่เชื่อมต่อกันเป็นทอด ๆเพื่อส่งกระแสประสาทจากส่วนหนึ่งของระบบประสาทไปยังอีกส่วนหนึ่ง
นิวรอนอาจจะเชื่อมต่อกันโดยใยประสาทเพียงเส้นเดียว หรือโดยมัดใย ประสาทที่เรียกว่าลำเส้นใยประสาท (tract)
วิถีประสาทที่เชื่อมส่วนที่ห่างไกลกันในสมองหรือระบบประสาทจะเป็นมัดใย ประสาทที่เรียกรวม ๆ กันว่า เนื้อขาว (white matter)
วิถีประสาทที่เชื่อมส่วนที่ใกล้ ๆ กัน เช่น ในระบบประสาทที่ใช้สารสื่อ ประสาทโดยเฉพาะ ๆ (neurotransmitter system) มักจะเรียกว่า เนื้อเทา (grey matter)
เป็นวิถีประสาทที่รับรู้เกี่ยวกับการรับความรู้สึกจากการสัมผัส (tactile, touch)ได้แก่ การสั่น(Vibration), คัน (Itching), กด(Pressure)
ตำแหน่งของร่างกาย(Proprioception) โดย มีตัวรับอยู่ในกล้ามเนื้อ(Muscle spindle stretch receptor)
และเอ็น(Golgtendon organ) ซึ่งตอบสนองของกล้ามเนื้อและเอ็น
การเคลื่อนไหวของข้อต่อ(Kinesthesia) โดยมีตัวรับอยู่ในกระดูก(Joint receptor)
รับรู้คุณสมบัติของวัตถุในเรื่องของรูปทรง(Stereognosis) ส่วนประกอบที่เป็นเนื้อวัตถุ(Shape)และน้ าหนักของวัตถุ
(Texture)
ตรวจการรับสัมผัสด้วยวัตถุนิ่มและเบา
ตรวจความสามารถในการรับรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของการสัมผัสและคลำวัตถุ(Stereognosis)
ตรวจหา touch threshold ของความสามารถในการแยกแยะรายละเอียดของการสัมผัสที่กระทำพร้อมกันบนผิวหนัง
ทดสอบเกี่ยวกับการรับรู้การเคลื่อนไหวของข้อต่อนั้น
การทรงตัว
ตำแหน่งของร่างกาย(Proprioception) โดย
มีตัวรับอยู่ในกล้ามเนื้อ(Muscle spindle stretch receptor)
การเคลื่อนไหวของข้อต่อ(Kinesthesia) โดย
มีตัวรับอยู่ในกระดูก
Lateral tract pathway เกี่ยวกับอุณหภูมิ โดยมี Krause’s copuscle ตัวรับรู้ความเย็นส่วน Ruffini type I ตัวรับรู้การเพิ่มอุณหภูมิ
Anterior tract pathway เกี่ยวกับการสัมผัสอย่างหยาบ(Crude
touch)
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ ปฏิกิริยา การปรับตัวและความผิดปกติของการรู้สติ การรับความรู้สึก การเคลื่อนไหว
และการนอนหลับพักผ่อน
การรับความรู้สึก
Autonomic
การรู้สติการเคลื่อนไหว
การนอนหลับพักผ่อน
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ปฏิกิริยา และการปรับตัวของระบบรับความรู้สึก (Sensory system)
ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral Nervous System: PNS) คือส่วนของระบบประสาทที่แตกแขนงออกมาจากระบบประสาท
ส่วนกลาง (Central Nervous System: CNS)ทำหน้าที่รับและส่งกระแสประสาทหรือข้อมูลที่ได้รับจากส่วนต่างๆของร่างกายเข้าสู่สมองและไขสันหลัง
องค์ประกอบของ PNS ประกอบด้วย
เส้นประสาทสมอง (Cranial Nerve) 12 ทำหน้าที่รับส่งกระแสประสาทสู่สมองและนำคำสั่งการคู่จากสมองส่งต่อไปยังหน่วยปฏิบัติการ
เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal Nerve) 31 คู่ ทำหน้าที่รับส่งกระแสประสาทสู่ไขสันหลังและนำคำสั่งการจากไขสันหลังส่งต่อไปยังหน่วยปฏิบัติการ เช่น กล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ
เซลล์ประสาท (Neuron)
นอกระบบประสาทส่วนกลางทําหน้าที่รับข้อมูลจาก
ร่างกายและนําส่งไปยังสมองและไขสันหลัง
การรับความรู้สึกทั่วไปและการรับความรู้สึกพิเศษ
การรับความรู้สึกทั่วไป (Somatic sensation)
หมายถึง การรับความรู้สึกทั่วๆไปของร่างกายทั้ง ภายใน และภายนอก
เซลล์ประสาท(Neuron)
และเซลล์พี่เลี้ยง/เซลล์ค้ำจุน(Neuroglia)
บริเวณประสานประสาท (Synapse)
สื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท หรือเซลล์ประสาทกับเซลล์เป้าหมาย
ไซแนปส์เคมี (Chemical synapse) เป็นไซแนปส์ที่ใช้ สารเคมีที่เรียกว่าสารสื่อประสาทเป็นตัวสื่อสาร
ไซแนปส์ไฟฟ้า (Electrical synapse) มีโครงสร้างและ การทำงานที่ไม่ซับซ้อน
บริเวณประสานประสาท(Synapse)
ตัวรับ(Receptor) และสารสื่อประสาท(Neurotransmitter)
ตัวรับ(Receptor)เป็นโปรตีน
ที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์
สำรสื่อประสำท(Neurotransmitter)เป็น
สารเคมีที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นในเซลล์ประสาท
ตัวอย่ำงสำรสื่อประสำท
อะเซทิลโคลีน (Acetylcholine; Ach)
เป็นสารสื่อประสาทตัวแรกที่ถูก
ค้นพบใน CNS
โมโนเอมีน(Monoamines) เป็นสาร
สื่อประสาท
กรดอะมิโน(Amino acid)เป็นสาร
สื่อประสาทที่มีทั้งชนิดกระตุ้นการทำงาน
การส่งสัญญาณประสาท
ระดับแคลเซียมที่สูงขึ้นในไซโทพลาซึมที่ปลายแอกซอน (axon terminal) ยังจุดชนวนให้ไมโทคอนเดรียดูดซึมแคลเซียม (mitochondrial calcium uptake) ซึ่งก็จะเริ่มกระบวนการเมแทบอลิซึมทางพลังงานของไมโทคอนเดรียเพื่อ ผลิดอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP) เพื่อเป็นพลังงานดำรงการสื่อประสาท
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve)
เป็นเส้นประสาทที่เกิดจากสมองและก้านสมองโดยตรงตรงข้ามกับประสาทไขสันหลังซึ่งเกิดจากไขสันหลังหลายปล้องประสาทสมองมีเป็นคู่และอยู่ทั้งสองข้างประสาทสมองในมนุษย์มีสิบสองคู่ ประสาทปลาย ประสาทรับกลิ่น (I) และประสาทตา (II) กำเนิดจากสมองใหญ่หรือสมองส่วนหน้า ส่วนอีกสิบคู่ที่เหลือกำเนิดจากก้านสมอง
ทำหน้าที่เป็นทางเชื่อมของสารสนเทศระหว่างสมองและหลายบริเวณ ส่วนใหญ่คือศีรษะและคอประสาทไขสันหลังลงไปถึงกระดูกสันหลังส่วนคอที่หนึ่ง และประสาทสมองบทบาทสัมพันธ์กันเหนือระดับนี้
ระบบรับความรู้สึก
หน้าที่ของระบบรับความรู้สึก คือ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มา กระตุ้นร่างกายในรูปแบบ ต่างๆ ซึ่งจะมีผลให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมและมีชีวิตอยู่รอดได้
การรับความรู้สึกพิเศษ (Special Sensation)
กลไกของระบบรับควำมรู้สึก ได้แก่ ตัวกระตุ้นจะกระตุ้นตัวรับควำมรู้สึ(sensory receptor)
ในอวัยวะรับความรู้สึกหรืออวัยวะรับสัมผัส(sensororgan) ที่เป็นส่วนหนึ่งของเอ๊กซอน(AXON)ของปลายประสาทรับความรู้สึกของระบบประสาทส่วนปลาย(Peripheral nervous system : PNS) จึงทำให้มีการสร้างกระแสประสาท(Nerve Impulse) ส่งต่อเข้ามาในระบบ ประสาทส่วนกลาง(Central nervous system : CNS) ให้แปลผลการรับ ความรู้สึกนั้นๆ เพื่อการตอบสนองต่อสิ่งที่มากระตุ้น
การรับ ความรู้สึกพิเศษ(Special Sensation)
การได้ยิน และการทรงตัว
การรับรส
กลไกที่ 1 การกระตุ้น(Stimulation) ที่ตัวรับ(Photoreceptor)ในจอรับภาพ(Retina) โดยแสงแล้วเกิดศักย์ไฟฟ้า
กลไกที่ 2 การส่งผ่านประสาทการมองเห็นที่เกิดขึ้นนี้ไปตามวิถี(Transmission)ศักย์ไฟฟ้า
กลไกที่ 3 การแปลหรือวิเคราะห์ข้อมูล (Translation)ที่ได้ว่าภาพที่
เห็นเป็นภาพอะไร
สายตาสั้น(Myopia;nearsightedness)ภาวะที่มองเห็นเฉพาะวัตถุใกล้ๆ เท่านั้น
สาเหตุ กระบอกตายาวมากกว่าปกติ กระจกตาโค้งกว่าปกติ มีการหักเหของแสงเพิ่มขึ้น
สายตายาว (Hypermetropia,farsightedness) ภาวะที่มองเห็นเฉพาะ วัตถุไกลๆเท่านั้น
สาเหตุ กระบอกตาสั้นกว่าปกติ กระจกตาโค้งน้อยกว่าปกติมีการหักเหของแสงลดลง
สายตาเอียง(Astigmatism) เป็นภาวะที่ผิดปกติของสายตาเนื่องจากมี การหักเหของแสงไม่เท่ากันในมุกแนวระนาบ
สาเหตุ กระจกตามีผิวโค้งหรือมีรัศมีความโค้ง
ไม่สม่ำเสมอกัน ทำให้เกิดการหักเหไม่เท่ากัน
เซลล์พี่เลี้ยงหรือเซลล์ค้ำจุน(Neuroglia)
เซลล์พี่เลี้ยงหรือเซลล์ค้ำจุน(Neuroglia) เป็นหน่วยช่วยสนับสนุนการทำงานของเซลล์
แอสโตรไซด์(Astrocyte) ทำหน้าที่หลายอย่าง เช่น ควบคุม ความเข้มข้นของอิเลตโตรไลต์ความสมดุลกรด-ด่างที่อยู่ล้อมรอบเซลล์ประสาท ยึดเหนี่ยวระหว่างเซลล์ประสาทและหลอดเลือดฝอย
เซลล์ไมโครเกลียล(Microglial cell) ทำหน้าที่ย่อยสลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในระบบประสาท
เซลล์เอเพนไดมัล(Ependymal cell) ทำหน้าที่สร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง(Cerebrospinal fluid : CSF)
เซลล์โอลิโกเดนโดรไซด์ (Oligodendrocyte, Schwann cell) ทำหน้าที่สร้างเยื่อหุ้ม เส้นประสาทนิวริเลมมา (Neurilemma) และเยื่อหุ้มไมอิลีน (Myelin sheath)
จำแนกชนิดของเซลล์ประสาทตามหน้าที่
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(Sensory neuron)
เซลล์ประสาทประสานงาน(Interneuron)
เซลล์ประสาทสั่งการ(Motor neuron)
นายศศิธร ศรีโสภา UDA6380039 :<3: