Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่น ๆขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้ออื่น ๆขณะตั้งครรภ์
โรคโควิด-19 กับการตั้งครรภ์ (COVID-19 during Pregnancy)
อาการและอาการแสดง
มีอาการของระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง
ไอ น้ำมูก เจ็บคอ
หายใจติดขัด
หายใจลำบาก
อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ผลกระทบต่อการสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
คลอดน้ำหนักตัวน้อย
ทารกในครรภ์พัฒนาการล่าช้า
คลอดก่อนกำหนด
การติดเชื้อ COVID-19
ของทารกแรกเกิดอาจตรวจพบการติดเชื้อได้ในทันทีหลังคลอด หรือตรวจพบภายใน 7 วันหลังคลอดได
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
มีการติดเชื้อของเยื่อหุ้มเด็ก
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
รกเสื่อม และรกลอกตัวก่อนกำหนด
แนวทางการรักษา
การดูแลรักษา
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการรุนแรง
ไม่ให้ออกซิเจนทาง face mask หรือ face mask with bag
On EFM ถ้าอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
ยุติการตั้งครรภ์ตามขอ้บ่งชี้ด้านสูติศาสตร์
สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อแต่อาการไม่รุนแรง
ให้ยาต้านไวรัส
การดูแลรักษากรณีฉุกเฉิน
ให้ทำการรักษาเช่นเดียวกับผู้ป่วย ที่เข้าข่ายการสืบสวนโรค และบุคลากรใส่ชุด full PPE
สตรีตั้งครรภ์ที่สงสัยจะติดเชื้อโรคโควิด-19
ห้ามใช้ยากลุ่ม NSAIDs
หากเป็นไปได้ให้เลื่อนการนัดผ่าตัดคลอดหรือการกระตุ้นคลอดออกไปอย่างน้อย 14 วัน
เน้นให้บุคลากรใส่ชุด PPE
การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด
การพยาบาล
การดูแลและการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ COVID-19
เน้นย้ำให้สตีรตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามนัดได้ตามปกติ
รักษาระยะห่าง social distancing
หลีกเลี่ยงการสัมผัสหืรออยูใ่กล้ชิดผู้ที่มีอาการไอ เป็นไข้
หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
มีประวิตัการเดินทางมาจากประเทศกลุ่มเสี่ยง หรือสัมผัสหรือใกล้ชิด ผู้ป่วย COVID-19 ควรปฏิบัติตน
แยกตนเองออกจากครอบครัว และสังเกตอาการจนครบ 14 วัน งดการใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น
กรณีเจ็บครรภ์คลอด ต้องไปโรงพยาบาลทันที
ข้อแนะนำการปฏิบัติสำหรับมารดาหลังคลอด
ข้อแนะนำการปฏิบัติสำหรับมารดาหลังคลอด
อาบน้ำหรือเช็ดทําความสะอาดบริเวณเต้านมและหัวนมด้วยน้ำและสบู่
สวมหน้ากากอนามัย ตลอดการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการเตรยีมนม และการปั๊มนม
ล้างทําความสะอาดอุปกรณ์เช่น ขวดนม ด้วยน้ำยาล้างอุปกรณ์และทําการนึ่งเพื่อฆ่าเชื้อ
การติดเชื้อไวรัสรับอักเสบชนิดเอ
(hepatitis A virus: HAV)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
มีผลคุ้มกันทารกไปจนถึงหลังคลอดประมาณ 6-9 เดือนจากนั้นจะหมดไป
มารดาจะสร้าง antibody ต่อเชื้อ HAV
สามารถผ่านไปยังทารกในครรภ์ได้
การป้องกันและการรักษา
สตรตั้งครรภ์ที่มีการติดเชื้อในระยะใกล้คลอดควรได้รับ ISG ขนาด 0.5 mg แก่ทารกทันที
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาการติดเชื้อ HAV ให้หายได้อย่างเด็ดขาด
อาจพิจารณาให้ immune serum globulin (ISG) ในรายที่สัมผัสเชื้อ
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ปวดศีรษะ
มักไม่มีอาการของดีซ่าน
ผู้ที่หายจากการเป็นโรคแล้วมักจะมีภูมิคุ้มกัน และจะไม่เป็นพาหะ
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา การดูแลตนเองที่เหมาะสม และ การป้องกันภาวะแทรกซ้อน
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
รับประทานอาหารที่สุก ดื่มน้ำให้เพียงพอ
มาตรวจตามนัด
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ และหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
การติดเชื้อไวรัสซิก้า (Zika)
คือ
เกิดจากเชื้อฟลาวิไวรัส (Flavivirus)
โรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (Chikungunya) และไข้เหลือง
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่มักมีอาการไข้
ปวดกล้ามเนื้อ
เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มักแสดงอาการมากในไตรมาสที่ 3
มีผื่นขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ และ บางการศึกษาพบผื่นหลังคลอด
ผลกระทบต่อทารก
ทารกตายในครรภ์
ความผิดปกติเกี่ยวกับ ระบบประสาท ตาและการมองเห็น
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การรักษา
ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคไข้ซิกาโดยเฉพาะ
การพักผ่อนให้เพียงพอ
ดื่มน้ำมาก ๆ
การป้องกัน
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทางกีฏวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทารกที่มีความพิการแต่กำเนิด
ระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบประสาท
การพยาบาล
ให้คำแนะนำในการป้องกันสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสซิกา อาการและอาการ แสดงของโรค ความรุนแรงของโรค วิธีการปฏิบัติ
ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิ
เตรียมสตรีตั้งครรภ์เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
เน้นย้ำการมาตรวจครรภ์ตามนัด
สุกใส (Varicella-zoster virus: VZV)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มีปัญหาภาวะปอดอักเสบ ปอดบวม
ระบบหายใจล้มเหลว
มีอาการทางสมอง
ผลกระทบต่อทารก
การติดเชื้อในครรภ์ ทําให้ทารกเกิดความพิการก่อนกําเนิด
การติดเชื้อปริกำเนิด
แนวทางการป้องกันและการรักษา
ให้นวด อย่าเกา
หลีกเลี่ยงยาในกลุ่มแอสไพรินเพราะอาจทําให้เกิด Reye’s syndrome
ใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใส Acyclovir
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ ๆ
ลักษณะของผื่น มักจะขึ้นตามไรผม เห็นเป็นตุ่มน้ำใสๆ บนฐานสีแดง เหมือนหยาดน้ำค้างบนกลีบกุหลาบ (dewdrops on a rose petal)
มีอาการปวดเมื่อยตามตัว
การพยาบาล
ระยะก่อนตั้งครรภ์
แนะนําให้สตีรวัยเจริญพันธุ์ที่วางแผนตั้งครรภ์ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันสุกใสก่อนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ และรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ระยะคลอด
เน้นหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
มารดามีอาการ ให้แยกทารกแรกเกิดจากมารดาในระยะ 5 วันแรกหลังคลอด
มารดามีการตกสะเก็ดแล้ว สามารถแนะนําเกี่ยวกับการให้นมมารดาได้
ดูแลให้ทารกรับวัคซีน VariZIG แก่ทารกแรกเกิดทันที
พยาธิสรีรภาพ
รับเชื้อเข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อเมือกบุทางเดินหายใจ
โรคสุกใสเกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอด จะเรียกว่า congenital varicella syndrome
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี
(Hepatitis B virus)
เกิดจากการติดเชื้อ Hepatitis B virus ผ่านทางเลือด น้ำลาย อสุจิ สิงคัดหลั่ง ทางช่องคลอด น้ำนม และผ่านทางรก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
หากมีการติดเชื้อ Hepatitis B virus ในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
ทารกตายในครรภ์ หรือเสียชีวิตแรกเกิด
ทารกที่คลอดมามีโอกาสที่จะติดเชื้อได้
แนวทางการป้องกันและรักษา
ตรวจหา HBsAg เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก และตรวจซ้ำอีกครั้ง ในไตรมาสที่ 3
Hepatitis B virus DNA ในกระแสเลือดมากกวา่ 20,000 IU/ml
หลีกเลี่ยงการทําหัตถการที่จะทําใหเ้กิดความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรสัตับอักเสบบีแก่ทารกในครรภ์
ควรได้รับการฉีด Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) ให้เร็วที่สุด
ฉีด HB vaccine ภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด
แนะนําว่าสามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมารดาได้
อาการและอาการแสดง
ปวดทั่วไปหรือปวดบริเวณชายโครงขวา
มีไข้ต่ำ ๆ เบื่ออาหาร
อาเจียน ปวดท้อง
คลำพบตับโต กดเจ็บ
ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีชาแก่
การพยาบาล
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำคร่ำ
เมื่อศีรษะทารกคลอด ดูดมูก เลือดและสิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ ออกจากปากและจมูกของทารก
ดูแลให้ทารกได้รับภูมิคุ้มกันภายหลังคลอด
ระยะหลังคลอด
ไม่จำเป็นต้องงดให้นมมารดาแก่ทารก
แนะนำการปฏิบัติตัวเช่นเดียวกับมารดาหลังคลอดทั่วไป
แนะนำให้นำทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบและนําบุตรมาตรวจตามนัด
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกคนว่าเป็นพาหะของโรคหรือไม่
ให้คำแนะนำแก่สตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับสาเหตุ การติดต่อ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การดำเนินของโรค แผนการรักษาพยาบาล
ในรายที่มีการติดเชื้อเรื้อรัง แนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
พยาธิสรีรภาพ
ระยะที่สอง
ประมาณ 2-3 เดือนหลังจากได้รับเชื้อ Hepatitis B virus
อาการอ่อนเพลียคล้ายเป็นหวัด
ระยะที่สาม
เป็นระยะที่ anti-HBe ทำลาย HBeAg จนเหลือน้อยกว่า 105 copies/mL (20,000 IU/mL)
ระยะแรก
รับเชื้อ Hepatitis B virus เข้าสู่ร่างกาย
เชื้อจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว
ระยะที่สี่
ระยะที่เชื้อกลับมามีการแบ่งตัวขึ้นมาใหม่
ทำให้เกิดการอักเสบของตับขึ้น
หัดเยอรมัน
(Rubella/German measles)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
รู้สึกไม่สุขสบายเล็กน้อย
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นชั่วคราว
ตับม้ามโต ตัวเหลือง โลหิตจาง เกล็ดเลือดต่ำ
ความผิดปกติถาวร
หูหนวก หัวใจพิการ ตาบอด สมองพิการ และ ปัญญาอ่อน
ความผิดปกติที่ไม่พบขณะแรกเกิด
ภาวะเบาหวาน โรคต่อมไทรอยด์ สูญเสียการได้ยิน ลิ้นหัวใจผิดปกติ ความดันโลหิตสูง สมองอักเสบ
การป้องกันและการรักษา
ให้ภูมิคุ้มกันเนื่องจากเป็นวิธีที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง
ทารกแรกเกิดที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อหัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณหลังหูโต
มีไข้ต่ำ ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว
เบื่ออาหาร ตาแดง
มีไข้จะเป็นอยู่ 1-2 วันก็จะหายไป
หลังจากนั้นจะมีผื่นขึ้นเป็นตุ่มเล็ก ๆ สีแดง
การพยาบาล
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อเยอรมันแก่สตรีวัยเจริญพันธ์
แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
ประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส
(Cytomegalovirus: CMV)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มีการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
ผลกระทบต่อทารก
เสี่ยงต่อภาวะ IUGR
คลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
วัคซีนที่ให้เพื่อป้องกันการติดเชื้อ CMV โดยตรงนั้นยังไม่มี
สตรีที่เคยมีประวัติการติดเชื้อ CMV ควรวางแผนเว้นระยะการมีบุตรไปก่อนอย่างน้อย 2 ปี
วิธีการหลักในการป้องกันคือการรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล
การรักษา
การให้ immunoglobulin ของ anti-cytomegaloviral human
การให้ยาต้านไวรัส เช่น Valtrex, Ganciclovil, Valavir
การประเมินอาการและอาการแสดงของทารกแรกเกิดที่มีการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงนาน ปวดกล้ามเนื้อ
ปอดบวม ตับอักเสบ
อาการทางสมอง
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นหลัก Universal precaution
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
ให้การดูแลในระยะหลังคลอดเหมือนมารดาทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
งดให้นมมารดา
แนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติของทารกที่ต้องรีบพามาพบแพทย์
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวทราบเกี่ยวกับโรค สาเหตุ อาการและอาการแสดง การ ดำเนินของโรค ผลกระทบ และแผนการรักษาพยาบาล
การติดเชื้อโปรโตซัว (Toxoplasmosis)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกหัวบาตร
หินปูนจับในสมอง
ตับและม้ามโต ตาและตัวเหลือง
ทารกมักเสียชีวิตหลังคลอด
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
แท้ง
คลอดก่อนกำเนิด
เยื่อหุ้มทารกอักเสบ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การวินิจฉัยในทารกก่อนคลอด สามารถกระทำได้
ให้ผู้อื่นเป็นผู้ดูแลแมวแทนในช่วงที่ตั้งครรภ์
หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก ผักผลไม้ที่ไม่ผ่านการล้าง
อาการและอาการแสดง
มักไม่ค่อยแสดงอาการ
มีอาการน้อย อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ
รุนแรงจะมีพยาธที่สมอง Chorioretinitis
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นหลัก Universal precaution
ภายหลังทารกคลอดเช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันที
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำเกี่ยวกับการสัมผัสเชื้อ
ติดตามผลการตรวจเลือด
เน้นการรกัษาอย่างต่อเนื่อง