Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ - Coggle Diagram
บทที่ 6
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ
โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์
(Nutrition for pregnant women)
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระของหญิงตั้งครรภ
การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของเลือด
เมื่อครรภ์ใกล้ครบกำหนด ปริมาตรของเลือดจะมีการเพิ่มประมาณร้อยละ 45 เพื่อใช้สำหรับขนส่งสารอาหารจากแม่ไปสู่ทารกโดยผ่านรก
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร
-การเปลี่ยนแปลงฮอโมนทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลงน้ำย่อยหลั่งน้อยลง
-หญิงตั้งครรภ์มักกินอาหารที่มีกากใยน้อย ออกก าลังกายไม่พียงพอ
อาการคลื่นไส้อาเจียน -เรียกว่า“อาการแพ้ท้อง”(morning sickness)
-เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกายท าให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
-บางคนแพ้อยากกินอาหารแปลกๆ(pica) เช่น ดินเหนียว ดินสอพอง อาจเกิดจากร่างกาย -ขาดสารนั้นๆ โดยเฉพาะธาตุเหล็ก จึงเกิดความอยากเพื่อสนองความต้องการของร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
-มีการเพิ่มของฮอร์โมน estrogen และ progesterone รวมทั้งฮอร์โมนอื่นที่สร้างมาจาก
รก ช่วยให้ผนังมดลูกแข็งแรงขึ้นและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
มดลูกเพิ่มความจุ
-จาก 10 มล. เป็น 5 ลิตร น้ำาหนักจาก 70 กรัม เป็นประมาณ 1,100 กรัม กล้ามเนื้อ ขยายตัว มีการเพิ่มจ านวนของหลอดเลือด น้ำเหลืองและเส้นประสาทที่มาเลี้ยงมดลูกการ เจริญเติบโตใน 3 เดือนแรกส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากฮอร์โมน estrogen และ progesterone
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น -ในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ น้ำหนักจะเพิ่มขึ้นน้อยมากเพียง 1-2 กก. หลังจาก3 เดือนแล้วน้ าหนักจะค่อยๆ เพิ่มมากขึ้น และเพิ่มเร็วที่สุดในระยะ 3 เดือนก่อนคลอด3 เดือนแล้วน้ าหนักจะค่อยๆ เพิ่มมากขึ้น และเพิ่มเร็วที่สุดในระยะ 3 เดือนก่อนคลอด
เกณฑ์การเพิ่มขึ้นของน้ าหนักตัวที่เหมาะสมในหญิงตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคอ้วน
-น้ำหนักตัวก่อนการตั้งครรภ์เกินร้อยละ 120 ของน้ำหนักตัวมาตรฐาน ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
ตลอดการตั้งครรภ์ 7-8 กก. โดยมีน้้ำหนักเพิ่มขึ้นไม่เกิน 300 กรัมต่อสัปดาห์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำาหนักเกิน
-น้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์อยู่ระหว่างร้อยละ 110-119 ของน้ าหนักตัวมาตรฐาน หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ าหนักตัวก่อนการตั้งครรภ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ (90-109 ของ น้ าหนักตัวมาตรฐานและวางแผนว่าจะไม่ให้นมบุตรหลังคลอด ควรมี น้ าหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 10 กก.โดยเพิ่ม 360 กรัมต่อสัปดาห์)
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ าหนักตัวปกติ และวางแผนที่จะให้นมบุตรหลังคลอด -ควรมีน้ าหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 12 กก. หรือประมาณ 400 กรัมต่อสัปดาห์
ในระยะไตรมาสที่ 2 และ 3
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นวัยรุ่น(อายุ <18 ปี) หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ าหนักตัวน้อยกว่าร้อย
ละ 90 ของน้ าหนักมาตรฐาน
-ควรมีน้ าหนักเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 14-15 กก. หรือในอัตรา 500 กรัมต่อสัปดาห
หญิงตั้งครรภ์ที่มีลูกแฝด
-ควรมีน้ าหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 18 กก. โดยมี
น้ าหนักเพิ่มขึ้นอาทิตย์ละ 650 กรัม ในระยะ 20 อาทิตย์ก่อนคลอด
ความต้องการสารอาหารขณะตั้งครรภ
สารอาหารที่ให้พลังงาน
• ตลอดการตั้งครรภ์หญิงมีครรภ์ต้องการพลังงานเพิ่ม 80,000 กิโลแคลอรี่ หรือประมาณ300 กิโลแคลอรี่ต่อวัน (วันละ 2,050 kcal)
• เพื่อใช้ในการเสริมสร้างอวัยวะต่างๆ ของทารก เนื้อเยื่อต่างๆ ของแม่ และการท างานของอวัยวะต่างๆ ที่เพิ่มขึ้น
• ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีน ซึ่งได้จากเนื้อสัตว์ นม ไข่ ข้าว ฯลฯ
• ควรหลีกเลี่ยงขนมหวานจัด น้ าอัดลม อาหารที่มีไขมันมาก ได้แก่ อาหารทอด หมูติดมัน กะทิซึ่งให้พลังงานสูงอาจท าให้น้ าหนักเพิ่มมากเกินไป
โปรตีน(protein)
• การได้รับโปรตีนเพียงพอมีผลต่อการเจริญเติบโตของสมองทารก โดยเฉพาะช่วง 3 เดือนก่อนคลอดถึง 6 เดือนหลังคลอด มีผลต่อสติปัญญาและการเรียนรู้ของเด็ก
• แนะน าให้กินอาหารโปรตีนเพิ่มขึ้นจากภาวะปกติ 10-14 กรัมต่อวัน โดยเพิ่มนม 2 ถ้วยตวง หรือเนื้อสัตว์ 60 กรัม
• โปรตีนควรได้จากสัตว์ประมาณ 2 ใน 3 ของโปรตีนที่ได้ทั้งหมด เพราะเป็นโปรตีน ที่มีคุณภาพดีมีกรดอะมิโนที่จ าเป็นครบ ได้แก่ เนื้อ นม ไข่ และปลา
แคลเซียม(Calcium)
• หญิงตั้งครรภ์ต้องการแคลเซียมเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในการสร้างกระดูกและฟันของทารก และสะสมไว้ใช้ในระยะให้นมบุตร
• ถ้าหญิงตั้งครรภ์ได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ จะมีการดึงแคลเซียมจากกระดูกแม่เพื่อน าไปสร้างกระดูกและฟันของทารก
• หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับแคลเซียม วันละ 1,200 มก. เพิ่มจากปกติซึ่งได้รับ 800 มก./วัน
• อาหารที่ให้แคลเซียมสูง ได้แก่ นม กุ้งแห้ง ปลาเล็กปลาน้อย นมถั่วเหลือง เต้าหู้ เป็นต้น
เหล็ก(Iron)
• หญิงตั้งครรภ์ต้องการเหล็กเพิ่มมากขึ้นเพื่อใช้ในการสร้างเม็ดเลือดแดงและสะสมไว้ใช้ส าหรับแม่ในระยะคลอด ถ้าแม่ได้รับอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่เพียงพออาจเกิดโรคโลหิตจางได้และเกิดโรคแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์และคลอดได้
• ควรกินอาหารที่มีเหล็ก ได้แก่ ตับ ม้าม ไต เลือด ไข่แดง เนื้อแดงและผักใบเขียวต่างๆ ให้มากขึ้น
• ส่วนใหญ่แพทย์จะให้กินยาที่มีธาตุเหล็กร่วมด้วย โดยเฉพาะ 3 เดือนก่อนคลอด
ไอโอดีน(Iodine)
• ระหว่างตั้งครรภ์ต่อมไทรอยด์จะท างานมากขึ้นท าให้ความต้องการไอโอดีนเพิ่มขึ้น
• ถ้าได้รับไอโอดีนไม่เพียงพอจะท าให้แม่เป็นโรคคอพอก และมีผลให้ทารกขาดไอโอดีนด้วยซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย ท าให้ทารกที่เกิดมาตัวเล็กแกร็นและมีสติปัญญาต่ำ(critinism)
• หญิงมีครรภ์ควรได้รับไอโอดีนวันละ 175 ไมโครกรัม
• อาหารที่มีไอโอดีนสูง ได้แก่ อาหารทะเลต่างๆ ควรใช้เกลือชนิดที่มีไอโอดีนในการปรุงอาหารทุกวัน จะช่วยป้องกันการขาดไอโอดีน
โฟเลท(Folate)
• การขาดโฟเลทจะท าให้การเจริญเติบโตของเซลล์และการแบ่งเซลล์บกพร่อง ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ทารกมีความผิดปกติแต่ก าเนิด
• โฟเลทยังจ าเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดง
• อาหารที่มีโฟเลทสูง ได้แก่ ผลไม้และผักใบเขียว ถั่วต่างๆ
• ควรได้รับโฟเลทวันละ 500 มคก. เพิ่มจากปกติซึ่งได้รับ 150 มคก.
• หญิงตั้งครรภ์ที่สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์หรือผู้ที่ใช้ยากันชักควรได้รับโฟเลทเสริมอีก 300 มคก.
วิตามินบี6
• หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับวิตามินบี6 เพิ่มจากเดิมวันละ 0.6 มก. เป็นวันละ 2.6 มก.
• วิตามินบี6 ช่วยในการเผาผลาญและสังเคราะห์กรดอะมิโน ช่วยสังเคราะห์ heme ซึ่งเป็น
ส่วนประกอบของ Heamoglobin
วิตามินซี
• หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับวิตามินซี เพิ่มเป็นวันละ 80 มก.
• การขาดวิตามินซีมีความสัมพันธ์กับการเกิดครรภ์เป็นพิษ(pre-eclamsia) และน้ าเดินก่อน
ก าหนด
วิตามินเอ
• หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับวิตามินเอวันละ 800 มคก.RE
• การได้รับมากเกินไปอาจท าให้ทารกมีความผิดปกติแต่ก าเนิด จึงควรหลีกเลี่ยงการเสริมวิตามิน
เอในระยะ 3 แรกของการตั้งครรภ
วิตามินดี
• ในระยะตั้งครรภ์ร่างกายต้องการวิตามินดีวันละ 10 มก.
• มารดาที่ขาดวิตามินดีจะมีผลท าให้ทารกในครรภ์เกิดภาวะแคลเซียมในเลือดต่ า(neonatal hypocacemia)
• ถ้าได้รับมากเกินไปอาจท าให้ทารกมีภาวะแคลเซียมในเลือดสูงอย่างรุนแรงเป็นอันตรายได
ปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการตั้งครรภ์
แอลกอฮอล์
• แอลกอฮอล์เป็นเครื่องดื่มที่ให้พลังงานปราศจากโปรตีน วิตามินและเกลือแร่หญิงตั้งครรภ์ไม่ควรดื่ม
• การดื่มแอลกอฮอล์ในหญิงตั้งครรภ์มีผลท าให้เกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์ ที่เรียกว่าfetal alcoholic syndrome
• ทำให้การเจริญเติบโตของสมองช้า มีการทำลายระบบภูมิคุ้มกัน มีความผิดปกติของกระดูกใบหน้า กะโหลกศีรษะ และแขนขา
คาเฟอีน
• แหล่งอาหารที่มีคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ น้ำอัดลม ช็อคโกแลต
• คาเฟอีนมีผลกระตุ้นประสาทส่วนกลางและสามารถอยู่ในกระแสเลือดได้นาน สามารถผ่านรกไปยังทารก
• มีผลต่ออัตราการเต้นของหัวใจและการหายใจของทารกในครรภ์
• การดื่มในขนาดปานกลาง (น้อยกว่า 300 มก./วัน) ไม่มีผลต่อการเพิ่มความเสี่ยงต่อการแท้ง การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์หรือมีความผิดปกติในการคลอด
แนวทางการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์
เนื้อสัตว์ต่างๆ
• ควรได้รับเนื้อสัตว์ต่างๆ เช่น เนื้อ หมู ปลา กุ้ง หอย ไก่หรือเป็ด วันละ 120-180 กรัมหรือประมาณ 1/2-3/4 ถ้วยตวง หรือมื้อละ 3-4 ช้อนโต๊ะ วันละ 3 มื้อ หญิงตั้งครรภ์ที่กินมังสวิรัติควรบริโภคถั่วเหลืองหรือเต้าหู้แทนเนื้อสัตว์
นม
• เป็นอาหารที่ให้โปรตีนคุณภาพดีและมีแคลเซียมที่ร่างกายสามารถดูดซึมได้ดี รวมทั้งวิตามิน บีและเอ
• ควรดื่มนมไขมันต่ าวันละ 1-2 แก้ว หรือดื่มนมถั่วเหลืองแทน
ไข่
• เป็นอาหารที่ให้คุณค่าทางโภชนาการสูง คือ ให้โปรตีนที่มีคุณภาพดี วิตามินและเกลือแร่อื่นๆ
• ควรกินไข่วันละ 1 ฟองเป็นประจำ
ผลไม้
• ควรกินผลไม้ทุกวันๆ ละ 2-4 ครั้ง เพื่อให้ได้รับวิตามินและเกลือแร่
• ผลไม้ที่ควรกินเป็นประจ า ได้แก่ มะละกอสุก สับประรด กล้วย เป็นต้น
ผักชนิดต่างๆ
• หญิงตั้งครรภ์ควรกินผักใบเขียวทุกวัน ในปริมาณไม่จ ากัด หรืออย่างน้อยวันละ 2-3 ถ้วยตวง เช่น ผักบุ้ง ผักต าลึง ผักคะน้า ฟักทอง • การกินผักท าให้ได้รับวิตามินและเกลือแร่ครบและช่วยป้องกันท้องผูกด้วย
ถั่วเมล็ดต่างๆ
• เช่น ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วแดง ถั่วด า และถั่วลิสง ซึ่งให้โปรตีนสูงและราคาไม่แพง หาซื้อได้ง่าย เก็บไว้ได้นาน
• ควรกินถั่วที่สุกประมาณวันละ 1/2 ถ้วยตวง
ไขมันหรือน้ำมัน
• เป็นอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย และให้กรดไขมันที่จ าเป็น รวมทั้งช่วยในการดูดซึมิตามินที่ละลายในน้ำมัน
• ควรบริโภคในระดับปานกลาง
น้ำ • ควรดื่มน้ำวันละ 1,500-2,000 มล. หรือ 6-8 แก้ว
โภชนาการสำหรับวัยทารก
(Nutrition in infancy)
โภชนาการของวัยทารก
เมื่ออายุ 4-5 เดือนควรมีน้ าหนักตัวเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของน้ าหนักแรกเกิด และเมื่ออายุ 1 ปีน้ าหนักควรเพิ่มเป็น 3 เท่าของน้ าหนักแรกเกิด
ความต้องการสารอาหารในทารก
• แรกเกิด-6 เดือนแรก ทารกได้พลังงานและสารอาหารจากนมแม่อย่างเดียว
• หลังจาก 6 เดือนไปจนถึงขวบปีแรกทารกจะได้รับพลังงานและสารอาหารจากอาหารอื่นร่วมกับนมแม่
ข้อแนะนำการให้อาหารสำหรับทารก
• ให้นมแม่อย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน ไม่ต้องให้อาหารอื่นแม้แต่น้ า
• เริ่มให้อาหารเสริมเมื่ออายุครบ 6 เดือนเต็มควบคู่ไปกับนมแม่
• เพิ่มจ านวนมื้ออาหารเมื่ออายุลูกเพิ่มขึ้น จนครบ 3 มื้อเมื่อลูกอายุ 10-12 เดือน
• ให้อาหารที่มีคุณภาพและครบ 5 หมู่ทุกวัน
• เริ่มให้อาหารทีละน้อยในระยะแรก เพื่อให้ทารกฝึกการใช้ลิ้น ริมฝีปาก และการกลืน แล้วค่อยๆเพิ่มปริมาณและความหยาบของอาหารขึ้นตามอายุ
• เริ่มให้ทีละอย่างและเว้นระยะ 1-2 สัปดาห์ ก่อนเริ่มให้อาหารชนิดใหม่ เพื่อสังเกตอาการแพ
การเลือกอาหารสำหรับทารก
• ให้ทารกได้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและหลากหลาย เ
• กินผักผลไม้ทุกวันและกินให้หลากหลายชนิด
• กินเนื้อสัตว์ทุกวัน
• ให้นมแม่ต่อเนื่องถึงอายุ 2 ปีส าหรับเด็กอายุ 1-2 ปี ควรเสริมด้วยนมดัดแปลงสูตรต่อเนื่องหรือนมวัวรสจืด วันละ 2 แก้ว
• ใช้น้ำมันพืชในการประกอบอาหาร
• ให้กินอาหารรสธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่งรสอาหาร
หลีกเลี่ยงขนมที่มีรสหวานจัด มันจัดเค็มจัด และขนมที่เหนียวติดฟัน
โภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียน
(Nutrition in school-age children)
โภชนาการเด็กวัยเรียน
• เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากเด็กก่อนวัยเรียน อัตราการเจริญเติบโตในช่วงวัยเรียน
ตอนต้นจะเป็นไปอย่างช้าๆ ในช่วงวัยเรียนตอนปลายอัตราการเจริญเติบโตของร่างกายจะสูงมากอีกครั้ง
• เพศหญิง เริ่มเข้าสู่วัยแรกรุ่น เมื่ออายุ 10 ปี เร็วกว่าเพศชายประมาณ 2 ปี
• พฤติกรรมการกินที่เป็นปัญหาของเด็กวัยนี้คือ จะไม่ลองกินอาหารที่ไม่เคยกิน กินอาหารไม่เป็น
เวลา มัวแต่เล่นจนลืมกิน เล่นมากจนเพลียไม่อยากกินอาหาร เลือกกินอาหารที่ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ข้อปฏิบัติในการจัดอาหารเด็กวัยเรียน
• จัดอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในแต่ละวันโดยมีปริมาณพอเหมาะกับความต้องการ
• ควรให้เด็กเป็นผู้เสนอรายการอาหารบ้าง เพื่อให้รู้สึกถึงการมีส่วนร่วม
• ฝึกวินัยในการรับประทานอาหารให้เป็นเวลา ไม่รับประทานอาหารจุบจิบ หรืออาจจะยอมให้เด็กกินอาหารผิดเวลาบ้างในวันหยุดเพื่อผ่อนคลายความกดดันที่โรงเรียน
• ฝึกให้เด็กรู้จักความพอดีในการรับประทานอาหารแต่ละประเภท ไม่ควรตามใจหรือให้อาหารเป็นสิ่งต่อรองให้เป็นรางวัลหรือท าโทษ
• ควรมีอาหารส ารองไว้บ้าง เป็นอาหารที่เตรียมได้ง่ายๆ แต่มีประโยชน์เพราะเด็กนอกจากกินอาหารไม่เป็นเวลาเพราะห่วงเล่น ยังหิวไม่เป็นเวลาอีกด้วย
โภชนาการสำหรับผู้ใหญ่
(Nutrition in Adult)
โภชนาการในวัยผู้ใหญ
• วัยนี้ร่างกายจะไม่มีการเสริมสร้างเพื่อการเจริญเติบโต แต่ยังมีการเสริมสร้างเซลล์ต่างๆ เพื่อรักษา
สมรรถภาพการท างานในร่างกายให้คงที่
• ผู้ใหญ่ที่มีภาวะโภชนาการดี สามารถท าให้อายุขัยยืนยาว มีชีวิตที่มีคุณภาพ และเข้าสู่วัยสูงอายุ
อย่างมีสุขภาพดีสมบูรณ์แข็งแรง
• เมื่ออายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไปจะมีปัญหาเรื่องน้ าหนักเกิน ซึ่งเป็นสาเหตุที่ท าให้เกิดโรคต่างๆ เช่น
เบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง
ความต้องการสารอาหารในวัยผู้ใหญ
พลังงาน
• ผู้ชายต้องการพลังงานมากกว่าผู้หญิงเพราะในผู้หญิงมีน้ าหนักตัวน้อยกว่าและท ากิจกรรม
น้อยกว่าผู้ชาย
• พลังงานทั้งหมดควรมาจากคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 55 โปรตีนร้อยละ 15 และไขมันร้อยละ30
โปรตีน
ควรได้รับโปรตีนวันละ 1 กรัม
ต่อน้ำหนักตัว 1 กก
วิตามินและเกลือแร่
• วัยนี้มีความต้องการพอๆ กับวัยรุ่น ยกเว้นแคลเซียมและฟอสฟอรัสต้องการน้อยลงเหลือ
800 มิลลิกรัมต่อวัน เนื่องจากในระยะนี้ไม่มีการสร้างกระดูกเพิ่มขึ้น
• ผู้ชายต้องการเหล็กลดลงเหลือ 10.4 ในขณะที่ผู้หญิงต้องการเท่าเดิมจนกว่าจะถึงวัยหมด
ประจำเดือน
• น้ าต้องการประมาณ 1,500-2,000 มล.ต่อวัน
วัยทอง(Golden period)
• วัยทอง หมายถึงวัยหมดประจ าเดือน (Menopausal period) ในผู้หญิงอายุประมาณ
50 ปี จะมีอาการร้อนวูบวาบ มีการเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะ และระบบสืบพันธุ์ อาการกระดูกพรุน กระดูกเปราะ หักง่าย มีอาการของระบบหัวใจและหลอดเลือดซึ่ง
เป็นผลมาจากการขาดฮอร์โมนเอสโตรเจนในร่างกาย
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ
(Nutrition in the elderly)
การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
การทำงานของประสาทสัมผัสทั้ง 5 ลดลง ได้แก่ การมองเห็น การรับรส การดมกลิ่น การได้ยินและการสัมผัส
ภาวะสุขภาพปากและฟัน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะมีปัญหาฟันผุหรือไม่มีฟัน
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลำไส้ลดลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
การทำงานของระบบไหลเวียนและไตลดลง ทำให้ความสามารถในการขับของเสีย
ลดลง
เนื้อเยื่อที่ปราศไขมันลดลง ได้แก่ กล้ามเนื้อ อวัยวะต่างๆ และเนื้อเยื่อกระดูกลดลง โปรตีนในร่างกายลดลง
เนื้อกระดูกลดลงเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป เนื่องจาก ได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนที่มีผลต่อการท างานของแคลเซียมและวิตามินดี
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอาย
พลังงาน
• ผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานน้อยกว่าวัยหนุ่มสาว้
•ผู้สูงอายุชาย หญิงได้รับพลังงานจากอาหารไม่เกินวันละ 2,250 และ 1,850 kcal หรือ 30kcal/kg.
โปรตีน
•ผู้สูงอายุควรได้รับโปรตีน 1 กรัมต่อน้ าหนักตัว 1 กก.ต่อวัน จึงจะเพียงพอ
•ผู้สูงอายุควรดื่มนมวันละ 1 แก้ว รับประทานไข่อาทิตย์ละ 3 ฟอง
ไขมัน
• ผู้สูงอายุควรลดปริมาณไขมันที่บริโภคโดยเฉพาะกรดไขมันอิ่มตัวและโคเลสเตอรอล เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
• ความต้องการไขมันในผู้สูงอายุไม่ควรเกินร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด
คาร์โบไฮเดรต
• ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดภาวะน้ าตาลในเลือดสูงและโรคเบาหวาน
• ผู้สูงอายุจะมีเอนไซม์แลคเตสลดลง ท าให้มีโอกาสเกิดภาวะท้องอืด ท้องเสียและเป็นตะคริวดื่มนม จึงควรบริโภคนมเปรี้ยวหรือโยเกิตแทน
• ควรได้รับร้อยละ 55 ของพลังงานทั้งหมด ถ้าได้รับน้อยกว่า 50-100 กรัมต่อวัน อาจทำให้เกิดการคั่งของคีโตนบอดี(Ketosis)
วิตามินเอ พบในรูปของเรตินอล ซึ่งพบมากในไขมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันตับปลา และเบต้าแคโรทีนที่มีมากในอาหารจากพืช
วิตามินดี มีความส าคัญในการสร้างกระดูกเนื่องจากช่วยดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัสที่ลำไส้ผู้สูงอายุชายและหญิงคือวันละ 5 ไมโครกรัมเท่ากัน
วิตามินอี ช่วยต้านแอนตี้ออกซิเดชั่น(antioxidation) ช่วยชะลอกระบวนการแก่และป้องกันการเกิดมะเร็ง
วิตามินเค พบในผักใบเขียว ผลไม้ ธัญพืช เนื้อ นมและสังเคราะห์จากแบคทีเรียในล าไส้ ความต้องการวิตามินเคในผู้สูงอายุชายและหญิงคือ วันละ 80 และ 65ไมโครกรัม
วิตามินซี จำเป็นต่อการสร้างกระดูก เลือดและคอลลาเจน ความต้องการวิตามินซีในผู้สูงอายุชายและหญิงคือวันละ 60 มก.เท่ากัน
วิตามินบี6 เป็นโคเอนไซม์ของกรดอะมิโน ถ้าขาดจะท าให้เกิดอาการชาและซีด ผู้สูงอายุทั้งชายและหญิง ต้องการวันละ 2.2 และ 2.0 มก.
วิตามินบี12 จ าเป็นในการสังเคราะห์ DNA ถ้าขาดจะท าให้การสร้างเม็ดเลือดแดงผิดปกติ และยังมีความส าคัญในการคงสภาพของไมอีลินของเนื้อเยื่อประสาทผู้สูงอายุ
โฟเลต จ าเป็นในการสังเคราะห์ DNA ถ้าขาดจะท าให้เกิดภาวะซีด ความต้องการโฟเลตทั้งชายและหญิงวันละ 175 และ 150 ไมโครกรัม
แคลเซียม ผู้สูงอายุจะสูญเสียเนื้อกระดูก(Osteoporosis) โดยเฉพาะผู้หญิง ความต้องการแคลเซียมส าหรับหญิงวัยหมดประจ าเดือนวันละ 1,000-1,500 มก.
เหล็ก การขาดธาตุเหล็กในผู้สูงอายุมีสาเหตุมาจากการได้รับเหล็กไม่เพียงพอ ความต้องการในผู้สูงอายุชายและหญิงคือ วันละ 10 มก. พบในอาหารประเภทตับ เนื้อแดงเลือด ไข่
สังกะสี ช่วยส่งเสริมการได้รับกลิ่น การรับรส ความอยากอาหารดีขึ้น และส่งเสริมหารหายของแผล ความต้องการในผู้สูงอายุชายและหญิงคือ วันละ 15 มก. พบในอาหารประเภทตับ เนื้อแดงไข่ อาหารทะเล
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
(Nutrition in adolescents)
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
• ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายอย่าง ต่อมไร้ท่อต่างๆ ทำงานมากขึ้น มีการ
สร้างเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ มากขึ้น กระดูกขนาดใหญ่ขึ้นท าให้ร่างกายสูงขึ้น น้้ำหนักเพิ่มมากขึ้น ทำให้ความต้องการสารอาหารมากขึ้น
• วัยรุ่นจะรู้สึกหิวบ่อยและรับประทานอาหารมากขึ้น
• วัยรุ่นชายจะรับประทานอาหารมากกว่าวัยรุ่นหญิง
ความต้องการสารอาหารของวัยรุ่น
พลังงาน
• วัยรุ่นชายควรได้รับพลังงาน 2,300-2,400 kcal/วัน
• วัยรุ่นหญิงควรได้รับพลังงาน 1,850-2,000 kcal/วัน
โปรีตีน
• ควรได้รับโปรตีนอย่างน้อยวันละ 1-2 กรัมต่อน้ าหนักตัว 1 กก.
• ปัจจุบันมีการก าหนดความต้องการโปรตีนตามความสูงของวัยรุ่น
วิตามินและเกลือแร่
• แคลเซียมและฟอสฟอรัส มีความต้องการ 1,200 มิลลิกรัม/วัน อาหารประเภท นม ปลาเล็ก
ปลาน้อย ผักใบเขียว
• เหล็ก ร่างกายต้องการเหล็กมากขึ้น โดยเฉพาะวัยรุ่นหญิงในระยะมีประจ าเดือน ซึ่งมีการสุญเสีย
เลือดมากกว่าปกติ วัยนี้ควรได้รับเหล็ก 15 มิลลิกรัมต่อวัน
• ไอโอดีน ต่อมไธรอยด์ท างานมากขึ้น มีการผลิตฮอร์โมนมากขึ้นจึงต้องการไอโอดีนมาก ควรได้รับ
ไอโอดีนวันละ 150 ไมโครกรัม ควรกินอาหารทะเลและใช้เกลือไอโอดีนประกอบอาหาร
• วิตามินเอ ใช้ในการเจริญเติบโตและคงสภาพเยื่อบุต่างๆ ควรได้รับอย่างน้อยวันละ 600-700
mcg.RE
• วิตามินบี2 ทำหน้าที่เป็นเอนไซม์ในการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย ถ้าขาดจะทำให้เป็นโรค
ปากนกกระจอก ควรได้รับวันละ 1.3-1.7 มิลลิกรัม
• วิตามินซี เป็นส่วนประกอบของเซลล์ใช้ในการสร้างคอลลาเจน ควรได้รับวันละ 50-60
มิลลิกรัม
• น้ า ต้องการ 6-8 แก้วต่อวัน
โภชนาการสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
(Nutrition in pre-school children)
การสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีแก่เด็กก่อนวัยเรียน
-เด็กมีการเจริญเติบโตของร่างกาย และมีการเล่นออกก าลังกาย ท าให้สูญเสียพลังงานไป จึงต้อง
จัดอาหารให้เพียงพอ และให้เพิ่มเมื่อเด็กต้องการ ไม่ควรบังคับหรือฝืนใจเด็ก ควรหาวิธีปรุงอาหารตามที่เด็กชอบ
-ควรฝึกให้รับประทานอาหารหลักวันละ 3 มื้อ ให้มีอาหารว่างระหว่างมื้อเช้าและบ่าย จะเป็นนม
สดหรือนมถั่วเหลืองวันละ 2-3 แก้ว
-หาเทคนิคหรือวิธีการจูงใจให้เด็กรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เช่น เด็กไม่กินผัก ควรน ามาชุบ
แป้งทอดกรอบแล้วจัดให้ดูน่ากิน
-พ่อแม่ควรเป็นแบบอย่างที่ดีโดยกินอาหารที่มีคุณค่า พร้อมฝึกมารยาทในการรับประทานอาหาร
โภชนาการของเด็กวัยก่อนเรียน
-เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองช้ากว่าในวัยทารก แต่ในระยะแรกๆ ของวัยนี้การเจริญเติบโตค่อนข้างเร็วและจะช้าลงเมื่ออายุมาขึ้น
-เด็กวัยนี้เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร เนื่องจากเด็กยังไม่โตพอที่จะเข้าโรงเรียนและพ่อแม่ต้องไปทำงาน จึงต้องเตรียมอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอกับความต้องการของเด็ก
-หากขาดอาหารจะท าให้ความเจริญเติบโตหยุดชะงัก ร่างกายอ่อนแอ ขาดภูมิต้านทานโรค ป่วยบ่อย
โภชนาการสำหรับหญิงหลังคลอดและให้นมบุตร
(Nutrition for lactating women)
โภชนาการของหญิงหลังคลอดระยะให้นมบุตร
• อาหารของแม่ในระยะให้นมบุตร คล้ายกับระยะตั้งครรภ์ แต่เพิ่มปริมาณขึ้นเพราะทารกต้องการสารอาหารมากกว่าตอนอยู่ในท้อง ต้องการพลังงานเพื่อการหายใจ การเต้นของหัวใจ การท างานของกล้ามเนื้อ และการเคลื่อนไหวต่างๆ
• ความต้องการวิตามินและแร่ธาตุบางชนิดเพิ่มขึ้น เช่น วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินบี6 โฟเลท เป็นต้น อาจพบแร่ธาตุในมวลกระดูกลดลง เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส
ความต้องการสารอาหารในระยะให้นมบุตร
พลังงาน
• ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
• ควรได้รับพลังงานเพิ่มขึ้นวันละ 500 kcal (2,250 kcal/วัน)
โปรตีน
• หญิงให้นมบุตรควรได้รับโปรตีนเพิ่มขึ้น 25 กรัม/วัน เพื่อน าไปใช้ผลิต
น้ำนมและซ่อมแซมเซลล์ต่างๆ ของแม่ที่สูญเสียไประหว่างคลอด
• ควรเลือกโปรตีนคุณภาพดี ไขมันต่ า เช่น เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ปลา ถั่ว เต้าหู้ ไข่ นม
แคลเซียม
• แม่จะต้องการแคลเซียมมากเพื่อใช้ในการสร้างน้ำนมส าหรับทารก
•ควรได้รับแคลเซียม 1,200 มก.ต่อวัน
ธาตุเหล็ก
• ระยะให้นมบุตรแม่จะต้องการธาตุเหล็กจากอาหารวันละ 15 มก. เนื่องจากหญิงให้นมบุตรไม่มีประจ าเดือนไม่มีการสูญเสียธาตุเหล็ก ซึ่งได้จากการกินเครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ ไข่ ผักใบเขียว
ไอโอดีน
• แม่ควรได้รับไอโอดีนให้เพียงพอ เพื่อป้องกันการขาดและให้ทารกได้รับไอโอดีนที่เพียงพอ
• แม่ควรได้รับไอโอดีนเพิ่มอีกวันละ 50 ไมโครกรัม
วิตามินชนิดต่างๆ
• วิตามินเอ เป็นส่วนประกอบที่ส าคัญของน้ำนม แม่ควรได้รับเพิ่มอีกวันละ 375 ไมโครกรัมซึ่งพบใน ไข่แดง ตับสัตว์ ผักใบเขียว และผักสีเหลือง
• วิตามินดี ควรได้รับในปริมาณที่ปกติเท่ากับก่อนตั้งครรภ์ พบในไข่แดง ตับปลา
• วิตามินบี1 ควรได้รับเพิ่มอีก 0.3 มก. พบในเนื้อหมู ถั่วเมล็ดแห้ง
• วิตามินบี2 ควรได้รับเพิ่มอีก 0.5 มก. พบในเนื้อสัตว์ ตับ ไข่ ถั่วต่างๆ ผักใบเขียว
• วิตามินซี ควรได้รับเพิ่มอีกวันละ 35 มก. พบในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว
โฟเลท
• ระยะให้นมบุตรแม่จะต้องการโฟเลทวันละ 500 มคก. โฟเลทช่วยในการสังเคราะห์โปรตีนและสารพันธุกรรม
น้ำ
แม่ควรดื่มน้ าให้มากขึ้น วันละ 8-10 แก้ว เพื่อให้การหลั่งน้ านมมากขึ้น
การหลั่งน้ำนมของแม่จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ
• การให้ลูกดูดนม เป็นการกระตุ้นให้มีการหลั่งของน้ านม ควรให้นมลูกทุกๆ 2 ถึง 3 ชม. เพราะเป็นช่วงที่เต้านมสร้างน้ านมได้เต็มที่ แม่ที่ไม่ค่อยให้ลูกดูดนม น้ านมจะน้อย ถ้าลูกดูดนมไม่หมด
เต้าควรบีบออกให้หมดทุกครั้ง จะเป็นการกระตุ้นให้มีการสร้างน้ านมขึ้นมาส าหรับมื้อต่อไป
• อารมณ์มีผลต่อการหลั่งของน้ านม ความวิตกกังวลมีผลต่อการหลั่งน้ำนม ความสุข ความรักจะกระตุ้นให้น้ำนมออกมาก
ชนิดของน้ำนมแม่หลังคลอด
น้ านมเหลือง(Colostrum) เป็นน้ำนมที่ออกมาในช่วง 2-4 วันหลังคลอด ช่วงแรกจะมีลักษณะใส ต่อมาจะเป็นสีเหลือง น้ านมชนิดนี้มีแร่ธาตุและโปรตีนมาก มีสารที่เป็นภูมิคุ้มกันโรคจากแม่มากกว่านมชนิดอื่น
น้ านมระยะปรับเปลี่ยน(Transitional milk) เป็นน้ำนมที่ออกมาในช่วง 7-10 วันหลังคลอดไปจนถึง 2 สัปดาห์หลังคลอด มีน้ำตาล ไขมัน วิตามินและพลังงานมากกว่าน้ำนมเหลือง
น้ านมแท้(Mature milk) เป็นน้ำนมที่ออกในวันที่ 10 หลังคลอดหรือ 2 สัปดาห์หลังคลอดเป็นต้นไป มีน้ำเป็นองค์ประกอบถึง 87% ลูกที่กินนมแม่เพียงอย่างเดียวจึงได้รับน้ำเพียงพอ
ข้อดีของการให้ลูกดูดนมมารดา
• ประจ าเดือนมาช้า ช่วยในการวางแผนครอบครัว แม่ที่ให้นมบุตรเต็มที่จะไม่มีประจ าเดือน 8-12เดือน
• การให้ลูกดูดนมมารดาจะกระตุ้นให้มีการหดรัดตัวของมดลูก ทำให้มดลูกเข้าอู่เร็ว
• ลดความเสี่ยงของการเป็นมะเร็งเต้านม
ปัญหาโภชนาการในหญิงให้นมบุตร
• ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารแสลง หญิงให้นมบุตรโดยเฉพาะในเขตชนบท จะมีความเชื่อเรื่องอาหารแสลงมากซึ่งเป็นสาเหตุท าให้เกิดการขาดสารอาหาร
• ความยากจน เป็นสาเหตุที่ท าให้หญิงหลังคลอดให้นมบุตรขาดโปรตีน เนื่องจากอาหารโปรตีนที่มีคุณภาพ ได้แก่ เนื้อสัตว์ นม มีราคาแพง ผู้มีรายได้น้อยไม่สามารถหาซื้อกินได้หรือกหากินได้น้อย
• นิสัยการบริโภคไม่ดี หญิงที่มีนิสัยการบริโภคที่ไม่ดีมาตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ทำให้ได้รับสารอาหารที่ไม่ครบ ส่งผลให้บุตรไม่ได้รับสารอาหารจากนมแม่
• ขาดความรู้ด้านโภชนาการ การขาดความรู้ด้านโภชนาการท าให้แม่ไม่สามารถเลือกซื้ออาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการแต่มีราคาถูกมาแทนอาหารที่มีราคาแพงได้ เช่น เลือกกินเต้าหู้ ถั่วเม็ดแห้งแทนเนื้อสัตว์ เลือกกินผักสีเขียว สีเหลืองมากกว่าผักทั่วไป
แนวทางการบริโภคอาหารของหญิงให้นมบุตร
ประเภทของอาหาร
• เนื้อสัตว์ต่างๆ ควรเป็นเนื้อสัตว์ไม่ติดมันหรือมีมันน้อย เช่น เนื้อปลา ไก่ หมู ควรได้รับประมาณ 180-240 กรัมต่อวัน หรือวันละ 1/2-1 ถ้วยตวง
• ไข่ ควรกินวันละ 1 ฟอง
• นมสดอย่างน้อยวันละ 2 แก้วหรือมากกว่า
• ผักต่างๆ ทั้งชนิดใบเขียวและใบเหลือง ควรรับประทานอย่างน้อย 6 ทัพพี
• ผลไม้ เช่น ส้ม มะละกอสุก สับประรด ฝรั่ง กล้วย อย่างน้อยวันละ 6 ส่วน
• ไขมันหรือน้ำมัน ควรรับประทานวันละ 3 ชต. น้ำตาลไม่เกินวันละ 5 ชช.
• ข้าวและแป้งชนิดต่างๆ ควรได้รับวันละ 9-10 ทัพพี
ข้อแนะนๆเกี่ยวกับอาหารในหญิงให้นมบุตร
• กินอาหารครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
• หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ รวมทั้งเหล้าดองยา ชา กาแฟ
• หลีกเลี่ยงการกินขนมหวานต่างๆ อาหารทอด อาหารมัน เป็นอาหารให้พลังงานสูง
• ดื่มน้ าให้เพียงพอ
• ปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนรับประทานยาเพราะยาบางชนิดสามารถผ่านทางน้ านมแม่ไปสู่บุตรได้
• พักผ่อนให้เพียงพอและออกก าลังกายสม่ าเสมอ