Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Alzheimer's - Coggle Diagram
Alzheimer's
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ซักประวัติจากญาติเริ่มสังเกตุว่าอาการเปลี่ยนไปอย่างไร โดยอาการจะค่อยเป็นค่อยไป แพทย์จะสัมภาษณ์คนที่ถูกทดสอบและคนอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้กับเขาเพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย ทางร่างกายและจิตใจในปัจจุบันแลในอดีต
การตรวจร่างกาย
ประเมินอาหารและโภชนาการ ตรวจสอบความดันโลหิตอุณหภูมิและชีพจร ฟังหัวใจและปอด และ เก็บตัวอย่างเลือดและปัสสาวะ
-
การตรวจพิเศษ
เอ็กซเรย์สมองด้วยคอมพิวเตอร์, คลื่นแม่เหล็ก (MRI) Sensation
-
อาการและอาการแสดง
- อาการทางเชาวน์ปัญญา (cognitive aspect) เช่น ความจาเสื่อมลง มีความผิดปกติด้านการใช้ภาษา การคิด การใช้เหตุผล การรับรู้ลดลง หรือมี การตัดสินใจบกพร่อง
- พฤติกรรมเปลยี่นแปลงรว่มกับอาการทางจิต(behaviouraland psychological symptom of dementia) ได้แก่ การมีพฤติกรรม เปลี่ยนแปลง เช่น ก้าวร้าว ไม่อยู่นิ่ง เดินละเมอ แสดงออกทางเพศไม่ เหมาะสม กลั้นปัสสาวะไม่ได้ รับประทานจุ ส่งเสียงกรีดร้อง และอาการทาง จิต เช่น บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง ซึมเศร้า เห็นภาพหลอน หูแว่ว และหวาดระแวง
พยาธิสภาพ
การเปลี่ยนแปลงจะพบสมองเหี่ยวและมีน้ำหนักลดลง ร่องสมอง (succus) และ ventricle กว้างขึ้น การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรรีวิทยาจะ พบ amyloid plaques ซึ่งเกิดจากการสะสมของโปรตีนชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า beta amyloid neurofibrillary tangles (NFT) กระจายอยู่ทั่วเนื้อสมอง ทาให้เกิดปฏิกิริยาต่อต้านจากระบบภูมิคุ้มกันของสมองเกิดการอักเสบและ ทาลายเซลล์สมอง (neurone) บริเวณ frontal lobeใกล้ๆ กับประสาท สั่งงาน motor ส่งผลกระทบต่อการทาหน้าที่ของเชาวน์ปัญญาและพฤติกรรม และยังพบว่าacetylcholineซึ่งเป็นสารสอื่ประสาทในสมองทที่า้หน้าที่ เป็นตัวกระตุ้นมีปรมิาณลดลงและมีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของภาวะ สมองเสื่อมของผู้ป่วย
การพยาบาลที่สำคัญ
- ประเมินความสามารถของผู้ป่วยในการทากิจวัตรประจาวันต่างๆ ถ้าไม่สามารถทา ได้พยาบาลต้องช่วยดูแล
- จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนนอนหลับอย่างเพียงพอ วางแผนจัดกิจกรรม ตอน กลางวันให้เหมาะสม เพื่อจะได้นอนหลับได้ในตอนกลางคืน
- พยาบาลต้องหมั่นตรวจสอบร่างกายผู้ป่วยอยู่เสมอ ควรบันทึกพฤติกรรมตั้งแต่แรก รับ สังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยต่อไป
- การตรวจสอบกิจกรรมของผู้ป่วยอยู่เสมอ จะช่วยให้พยาบาลจัดสิ่งแวดล้อมได้ เหมาะสม เช่น พื้นที่ลื่น ทางเดินไม่สะดวก ถ้าไม่มีข้อห้ามพยาบาลต้องช่วยให้ผู้ป่วย ออกกำลังกาย
- ป้องกันการกระตุ้นผู้ป่วยมากเกินไป หลีกเลี่ยงการให้งานที่ก่อความวิตกกังวล
- ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการซึมเศร้า อ่อนล้า ถอยหนีจากสิ่งแวดล้อม แยกตัว พยาบาล ต้องประเมินเหตุแห่งความซึมเศร้า เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึก
การรักษา
•การรักษาส่วนใหญ่เพื่อบรรเทาอาการที่เกิดขึ้น เช่น การทากายภาพบาบัด การรับประทานอาหารที่เหมาะสม การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม จะช่วยให้ ผู้ป่วยอาการดีขึ้น และสามารถปฏิบัติตัวได้ดีขึ้น หรือใช้ยาลดความกังวล tacrine (Cognex) donepezil hydrochloride (Aricept)