Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure) - Coggle…
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure)
Pathophysiology
IICP
Brain herniation
brain injury (brian stem)
ischemic
death
Decrease CPP * cerebral ischemia
(CPP = MAP – ICP)
สาเหตุ (ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด IICP)
cerebral autoregulation สูญเสียไป
ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (>45); vasodilatation
เนื้อเยื่อสมองมีเลือดไปเลี้ยงลดลง; ท่านอนไม่เหมาะสม
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ (<60)
ภาวะการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อสมอง
Compensation mechanism of IICP
1.Volume
เพิ่มการขับน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ในสมองและเวนตริเคิลลงสู่ไขสันหลัง
เพิ่มการดูดกลับและลดการสร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
มีการหดของหลอดเลือดสมอง และเพิ่มการไหลกลับของเลือดดำ
2.CBF
autoregulation of cerebral blood flow
ขนาดของหลอดเลือดจะขยายหรือหดตัว เพื่อให้ปริมาณเลือดหล่อเลี้ยงสมองอยู่ในระดับคงที่
และเนื้อเยื่อสมองได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ (แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง)
แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง (Cerebral perfusion pressure [CPP]) = 70-100 มิลลิเมตรปรอท
CPP = MAP – ICP
MAP= 1/3
SBP + 2/3
DBP
MAP = ((SBP-DBP)/3) + DBP
Clinical Manifestations IICP
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง (ซึมลงหรือสับสน)
Cushing's triad; hypertension, bradycardia, irregular respiration
ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง มี decorticate, decerebrate และกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการอื่นๆ เช่น ปวดศีรษะมาก อาเจียนพุ่ง* รูม่านตาบวม (papilledema)
อาการระยะท้าย; coma หยุดหายใจหรือหายใจแบบ Cheyne- strokes อุณหภูมิร่างกายจะเพิ่มขึ้น รูม่านตาขยายหรือไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง
อาการและอาการแสดง
1) ปวดศีรษะ
2) อาเจียนพุ่ง
3) ตัวมัว เห็นภาพซ้อน
4) ระดับความรู้สึกตัวลดลง Glasgow coma score และประเมิน content
ของความรู้สึกตัวด้วยการซักถาม orientation ต่อ บุคคล เวลา และสถานที่ ผิดปกติ
5) มีไข้สูง
6) Cushing’s triad (ชีพจรช้า หายใจช้า ความดันโลหิตสูง)
7) Cheyne-Stokes respiration
8) widened Pulse pressure > 60 mmHg.
9) Pupil เปลี่ยน ตอบสนองต่อแสงผิดปกติ
10) ตาพร่ามัว และเส้นประสาทตาบวม (papilledema) ตรวจพบ papilledema
ได้นั้นผู้ป่วยจะต้องมีภาวะ IICP มาแล้วอย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง
Assessment
การซักประวัติ : การบาดเจ็บ/เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วย อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย :
ประเมินระดับความรู้สึกตัว (LOC)
Glasgow Coma Scale (GCS)
Vital signs > Cushing's triad
pupil reaction, size, conjugate
การพยาบาล
1) จัดท่าศีรษะสูง 30 องศา การจัดท่าของผู้ป่วยก็มีความสำคัญ ท่าที่ศรีษะสูงเล็กน้อยร่วมกับศรีษะอยู่ในแนวตรง
2) หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทำให้เพิ่มความดันในช่องอกแรงดัน เช่น การมีลมหรือเลือดในช่องอก หลอดลมตีบแคบ ท่อช่วยหายใจพับงอ ปัจจัยเหล่านี้จะทำให้เลือดดำจากสมองไหลเข้าสู่หัวใจในช่องอกยากเป็นผลให้ ICP เพิ่มมากขึ้นได้
3) ให้ออกซิเจน ที่เหมาะสม
4) ดูแล Temp.
5) IV fluid ประเมิน intake & output
6) ดูแลให้ได้รับยา
Osmotic/diuretic drug หวังผลให้มีการดึงน้ำจากรอบ ๆ หลอดเลือดในสมองเข้ามา ทำให้มีการขับปัสสาวะเพิ่มขึ้น
Steroid เป็นยาที่มักใช้ลดสมองบวมที่เป็นผลมาจากก้อนเนื้องอกในสมอง
Barbiturate ถ้าให้การรักษาด้วยวิธีข้างต้นแล้ว ยังไม่สามารถลดความดันในกะโหลกศรีษะได้
ผ่าตัด
ventriculostomy,
craniotomy
craniectomy
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง (Shunt malfunction ) มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง (Shunt infection)
การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง (Shunt obstruction)
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน (Overdrainage)
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ (Slit ventricle)
ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง (Intraventricular hemorrhage)
ไตอักเสบ (Shunt nephritis)
การพยาบาล
วัดรอบศีรษะทุกวัน
ตรวจสอบการทำงานของ shunt
3.การจัดท่านอนผู้ป่วยให้ใช้ Rubber ring รองบริเวณศีรษะ เพื่อป้องกันแผลกดทับ
4.การอุ้มผู้ป่วยต้องประคับประคองบริเวณศีรษะ เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดได้
อธิบายผู้ดูแลเข้าใจและสามารถดูแลผู้ป่วยเมื่อกลับบ้านได้