Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก, แนวทางการส่งเสริมการเจริญเติบโต,…
บทที่ 2 การเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก
การประเมินการเจริญเติบโตและแนวทางการส่งเสริมการเจริญเติบโต
การประเมินการเจริญเติบโต
การวัดและการประเมินการเจริญเติบโตหรือภาวะโภชนาการของร่างกาย
1.3.เส้นรอบศีรษะ
นิยมใช้วัดในช่วง 2 ปี แรกเนื่องจากช่วงวัยนี้สมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
หลงัจากน้ันกะโหลกศีรษะปิดแล้ว เส้นรอบวงศีรษะจะบอกถึงอายุของเด็กมากกว่า สุขภาพและภาวะโภชนาการ
กระหม่อมหน้า (Anterior fontanelle) ปิดเมื่ออายุประมาณ 1 ปี 6 เดือน
กระหม่อมหลัง (Posterior fontanelle) ปิดเมื่ออายุประมาณ 6 สัปดาห์
1.4.ประเมินจากน้ำหนักและส่วนสูง
-แรกเกิด-3 เดือน น้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณวันละ 30 กรัม
-อายุ 3-6 เดือน น้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณวันละ 20 กรัม
-อายุ 6-9 เดือน น้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณวันละ 15 กรัม
-อายุ 9-12 เดือน น้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณวันละ 12 กรัม
อายุ 3-12 เดือน
ใช้สูตร [อายุ(เดือน)+9]/2
อายุ 1 – 6 ปี
ใช้สูตร [อายุุ(ปี)x 2]+ 8 กิโลกรัม
อายุ 7-12 ปี
ใช้สูตร [(อายุ(ปี)x7)-5]/2 กิโลกรัม
➡
6 เดือนแรก สูง 2.5 ซม./เดือน 6 เดือนหลัง สูง 1.5 ซม./เดือน
➡
อายุ 2 – 12 ปี ใช้สูตร (อายุ(ปี)x 6)+ 77
1.5.การประเมินภาวะโภชนาการ
Weight for age (W / A)
คือ น้า หนักของเด็กที่อายุขณะน้ัน
Height for age (H / A)
คือ ส่วนสูงของเด็กที่อายุขณะน้ัน
Weight for height (W / H)
คือ น้า หนกั และส่วนสูงของเด็กที่อายขุ ณะนั้น
👉
การประเมินความรุนแรงของความอ้วน
👈
สูตร: { นน.ที่เกินมาตรฐาน / นน.มาตรฐาน } x 100
1.1.การเติบโตของฟัน
➡ฟันน้า นม มี20 ซี่โผล่พ้นเหงือกอายุ 6 เดือน ครบเมื่อ 3 ปี
➡ฟันแท้ มี 32 ซี่ ขึ้นอายุประมาณ 6 ปี ขึ้นครบวัยรุ่นตอนปลาย
👉ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ใช้สูตร อายุเป็นเดือน = 6 + จำนวนฟัน👈
1.2.เส้นรอบอก
ปีเมื่อแรกเกิดเส้นรอบอกจะน้อยกว่า เส้นรอบศีรษะประมาณ 2 ซ.ม และจะเท่ากับเส้นรอบศีรษะเมื่ออายุ6 – 8 เดือน หลงัจากนั้นเส้นรอบอกจะมากกว่า เส้นรอบศีรษะ
กรณีศึกษา
คำนวณน้ำหนักโดยใช้สูตร {อายุ(ปี) x 2} + 8 => {5 × 2} + 8 =18 กิโลกรัม
คำนวณส่วนสูง โดยใช้สูตร (อายุ(ปี) x 6) + 77 => (5 x 6) + 77 =107 เซนติเมตร
คำนวณโดยใช้จำนวนเท่าของแรกเกิด เมื่อทราบน้ำหนักและส่วนสูงเมื่อแรกเกิด
น้ำหนักแรกเกิด x 7 => 2.850 x 7 = 19.95 กิโลกรัม
ส่วนสูงแรกเกิด x 2.25 => 52 x 2.25 = 117 เซนติเมตร
พัฒนาการเด็กตามวัย
และแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการ
พัฒนาการเด็ก
1. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย
1.1.การใช้กล้ามเนื อมัดใหญ่ (gross motor development) เป็นการพัฒนากล้ามเนื้อส่วนที่ช่วยในการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น การคลาน นั่ง การตั้งไข่ ยืน เดิน วิ่ง การกระโดด
1.2.การใช้กล้ามเนื อมัดเล็ก (fine motor development ) เป็นการพัฒนากล้ามเนื้อส่วนที่ช่วยในการมอง และการหยิบ จับ สิ่งของ
2.พัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม
เป็นพัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือตนเอง การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและการปรับตัวในสังคม
3.พัฒนาการด้านสติปัญญาและจริยธรรม
เป็นพัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับการรู้การเข้าใจสิ่งต่างๆ ตลอดจนกฏเกณฑ์แลศีลธรรมของบุคคล
4.พัฒนาการด้านภาษา
เป็นพัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับภาษาและความเข้าใจภาษา เช่น การออกเสียงพูด และการเข้าใจความหมายของค้าพูด
พัฒนาการในวัยต่างๆ
1. วัยทารก (Infancy Period)
- ท้าให้มีการพัฒนาการอย่างมากมายทางการเคลื่อนไหว
ต้องอาศัยการเรียนรู้ อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่ายรวดเร็วขึ้นอยู่กับสิ่งเร้า เด็กที่ได้รับความรักความอบอุ่นจากบิดามารดาอย่างเพียงพอจะเรียนรู้ในการที่จะรักบุคคลอื่นด้วย ทารกแรกเกิดใช้การร้องไห้
2.วัยเด็กตอนต้นหรือวัยเด็กก่อนเข้าโรงเรียน (Early Childhood or Pre School Age)
- การสร้างสุขนิสัยทางกาย อารมณ์โกรธเป็นอารมณ์ธรรมดาที่สุดของเด็กในวัยนี้ ใช้ภาษาพูดได้แล้ว วัย 6 ขวบเป็นระยะสุดท้ายของพัฒนาการภาษาพูด (Speech) เริ่ม
ตระหนักว่าตนเป็นเพศหญิงหรือชาย
➡วัยช่างปฏิเสธ (Negativistic Period)
3.วัยเด็กตอนปลาย หรือ วัยเรียน (Late Childhood or School Age)
- เด็กเริ่มออกจากบ้าน การเป็นสมาชิกของกลุ่มเพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกัน
โลกเพื่อนร่วมวัย (The World of Peer)
เด็กรู้จักกลัวสิ่งที่สมเหตุสมผลมากกว่าวัยก่อน พัฒนาด้านร่างกายเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ช้าๆ แต่สม่้าเสมอ เข้าใจว่าวัตถุแม้เปลี่ยนแปลงรูปลักษณะภายนอก
4. วัยแรกรุ่น (Puberty)
- พัฒนาการทางกายเป็นไปในแง่ของการเจริญเติบโตถึงขีดสมบูรณ์ (Maturation) ให้ความส้าคัญกับเพื่อนร่วมวัยมากกว่าในระยะเด็กตอนปลาย อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย สับสน อ่อนไหว มีความเข้มของอารมณ์สูง พยายามคิดให้เหมือนผู้ใหญ่รู้จักคิดเป็นเหตุเป็นผลไม่เชื่ออะไรง่ายๆ
5.วัยรุ่น (Adolescence)
- ความสับสนทางอารมณ์คล้ายคลึงช่วยวัยแรกรุ่น สัมพันธภาพกับเพื่อนร่วมวัยถึงความเข้มข้นสูงสุด เด็กโตพอที่จะรู้ถึงความส้าคัญของอาชีพเช่น ความต้องการอิสระเป็นตัวของตัวเอง สนใจมีเพื่อนสนิทต่างเพศ ความต้องการเลียนแบบผู้ที่ตนนิยมชมชอบมีมาก่อนแล้วตั้งแต่วัยเด็กก่อนวัยรุ่น พบตนเองคือเข้าใจตนเองแจ่มแจ้ง เกิดความต้องการประพฤติตนตามพฤติกรรมที่นึกนิยม
กรณีศึกษา
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว
สามารถวิ่งเล่นหลบสิ่งของได้, เตะลูกบอลได้, กระโดดขาเดียวได้อย่างต่อเนื่อง 5 ครั้ง
พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา
สามารถวาดรูปสี่เหลี่ยมได้, วาดรูปคนได้, ระบายสี, เขียนหนังสือ, นับเลข 1-00ได้ บวกลบเลขหลักหน่วยได้
พัฒนาการด้านการเข้าใจภาษา
สามารถเข้าใจสิ่งที่สื่อสาร แม่ใช้ให้ไปหยิบของสามารถหยิบได้อย่างถูกต้อง
พัฒนาการด้านความใช้ภาษา
ท่อง ก-ฮ ได้ ท่อง A-Z ได้อย่างครบถ้วน สามารถเขียนชื่อตัวเองภาษาไทยได้ สามารถตอบคำถามได้ว่า “ทำไมต้องกินผัก-เพราะจะได้แข็งแรง” “ทำไมถึงต้องแปรงฟัน-เพราะเดี๋ยวปวดฟัน”
พัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองและทักษะสังคม
สามารถอาบน้ำ แต่งตัว แปรงฟัน ทานข้าวด้วยตัวเองได้ บอกได้ว่าของชิ้นไหนคือเสื้อ ชิ้นไหนคือกางเกง สัตว์เลี้ยงที่บ้านคือ หมา
การจัดกิจกรรมการเล่นในเด็กปกติและเด็กป่วย
1. การเล่นเพื่อสังคม (Social Play)
1.1.พฤติกรรมการเล่นคนเดียว (Unoccupied Behavior)
1.2.พฤติกรรมเป็นผู้เฝ้าดู(Onlooker Behavior)
1.3.การเล่นอย่างอิสระ (Solitary Independent Play)
1.4. การเล่นคู่ขนาน (Parallel Play)
1.5. การเล่นร่วมกับผู้อื่น (Associative Play)
1.6.การเล่นแบบร่วมมือกัน หรือการเล่นที่เป็นระบบ
(Cooperative or Organized Supplementary Play)
2. การเล่นพัฒนาด้านสติปัญญา (Cognitive Play)
2.1.การเล่นฝึกหัด หรือส้ารวจ (Functional Play Exploratory)
2.2.การเล่นสมมุติหรือจินตนาการ (Dramativ Play/Symbolic/Fantasy Play)
2.3.การเล่นสร้าง (Constructive Play)
2.4.การเล่นเกมส์(Games Play)
การจัดการเล่นเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
วัยแรกเกิดและวัยทารก (0 - 1 ปี)
ช่วงอายุ 1-3 เดือน ได้แก่ โมบาย กระจกเงา กล่องดนตรีตุ๊กตาสัตว์ยัดไส้ และเครื่องเล่นกรุ๊งกริ๊ง
อายุระหว่าง 3-6 เดือน การใช้เครื่องเล่นกรุ๊งกริ๊ง ของเล่นที่อ่อนนุ่ม หรือกระจกเงาจะช่วยกระตุ้นการส่งเสียงได้ในระยะนี้
วัย 3-6 เดือนได้แก่ ของเล่นที่มีเสียงเมื่อถูกบีบ และอุปกรณ์เล่นยิมส้าหรับเด็ก
อายุ 7-9 เดือน ได้แก่ ตุ๊กตาผ้า บล็อกที่มีขนาดใหญ่ ลูกบอลขนาดใหญ่ และของเล่นส้าหรับอาบน้้า เช่น ตุ๊กตายางเป็ด
อายุ 12 เดือน ทักษะด้านประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวที่เพิ่มมากขึ้นจะสนุกกับของเล่นประเภทดึงลาก ลูกบอลลูกโต ๆ กล่องกิจกรรม การต่อบล็อกและหนังสือผ้าที่มีรูปภาพขนาดใหญ่
วัยหัดเดิน (1-3 ปี)
ของเล่นประเภทดึงลากลูกบอล บล็อกขนาดใหญ่ ม้าโยก ดินน้้ามัน กล่องปริศนาขนาดใหญ่ ของเล่นที่มีเสียงเพลงหรือเสียงพูด โทรศัพท์
ของเล่น หนังสือที่ท้าจากผ้า สีเทียนแท่งใหญ่ และรถจักรยานสามล้อ
เด็กวัยก่อนเรียนหรือวัยอนุบาล (3-6 ปี)
ควรเน้นส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็ก เช่น รถจักรยานสามล้อ สเกต เกมปริศนา สมุดระบายสี ของเล่นประเภทตุ๊กตา ตุ๊กตาและเสื้อผ้าส้าหรับการแต่งตัว ของเล่นชุดท้าความสะอาดบ้าน หุ่นมือ และ
บ้านของเล่น จะช่วยในการเล่นบทบาทสมมติ ของเล่นที่กระตุ้นพัฒนาการทางสติปัญญา ได้แก่ หนังสือ และเกมอิเลคทรอนิกส์
เด็กวัยเรียน (6-12 ปี)
การวาดภาพระบายสีอันเป็นช่องทางส่งเสริมการรับมือกับอารมณ์ของตนเอง เพื่อช่วยสนับสนุนการพัฒนาทางด้านร่างกายและการเคลื่อนไหวรวมทั้งการประสานสัมพันธ์ของตาและมือส่งเสริมให้เด็กเกิดความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง การเรียนรู้เกี่ยวกับการพึ่งพาตนเองและผู้อื่นก็เป็นเรื่องจ้าเป็นส้าหรับเด็กวัยเรียนเพื่อช่วยให้ท้าหน้าที่ในกลุ่มได้
เด็กวัยรุ่น (12-18 ปี)
เลือกกิจกรรมการเล่นและของเล่นที่เหมาะสมโดยขึ้นอยู่กับระดับพัฒนาการของเด็ก
-จัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยส้าหรับการเล่น
สังเกตและประเมินการเล่นของเด็ก
แนะน้าผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเกี่ยวกับการเล่นที่เหมาะสมตามพัฒนาการของเด็กแต่ละวัยและการเลือกของเล่นที่เหมาะสมแก่เด็ก
แนะน้าผู้ปกครองหรือผู้ดูแลในการเป็นแบบอย่างที่ดีในการเล่น
แนวทางการส่งเสริมการเจริญเติบโต
1.การส่งเสริมด้านโภชนาการ
1.1.ดูแลให้เด็กได้รับอาหารให้ครบถ้วนทั้งปริมาณและชนิดที่เหมาะสมกับความต้องการของเด็กแต่ละวัยและมีคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กทารกซึ่งเป็นวัยที่มีอัตราการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
1.2.สร้างบริโภคนิสัยที่ดีแก่เด็ก โดยเริ่มต้นการฝึกที่เด็กวัยก่อนเรียนให้รู้จักมารยาทในการรับประทานอาหาร และสร้างนิสัยการบริโภคที่ดี
2.การป้องกันโรคและปัญหาสุขภาพ
การสนับสนุนดูแลให้เด็กได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามก้าหนดเพื่อให้ร่างกายของเด็กมีภูมิคุ้มกันหรือความต้านทานเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคหรือท้าให้โรคมีความรุนแรงน้อยลง
3.การดูแลเรื่องการพักผ่อนนอนหลับ
ขณะนอนหลับมีการหลั่งฮอร์โมนเกี่ยวกับการเจริญเติบโตมากขึ้น
4.การป้องกันอุบัติเหตุ
5.การออกก้าลังกายและการจัดนันทนาการ
ส่งเสริมให้เกิดความแข็งแรงสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย เด็กยังได้มีพัฒนาการด้านสังคมเมื่อเด็กเล่นกับคนอื่น และรู้จักกฎกติกา
6.การประเมินการเจริญเติบโต
7.การตรวจสุขภาพ
ในวัยทารกและวัยหัดเดินควรได้รับการตรวจสุขภาพสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ส่วนในเด็กโตควรจะได้รับการตรวจสุขภาพทุก 1 เดือน 3 เดือน หรือ 6 เดือน
8.การจัดสิ่งแวดล้อม
ยึดหลักส้าคัญคือ ความสะอาดปลอดภัย การให้อิสระเด็กในการเล่น และการจัด
ของเล่นให้อยู่ในที่ที่เด็กหยิบได้ถึงได้สัมผัสหรือจัดต้อง มีการระบายอากาศที่ดี และไม่ชื้น
นางสาวณัฎฐณิชา นุชบ้านป่า เลขที่ 35 ห้อง 3A รหัสนักศึกษา 62106301036