Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Alzheimer's - Coggle Diagram
Alzheimer's
การพยาบาล
- ประเมินความสามารถของผู้ป่วยในการทำกิจวัตรประจำวันต่างๆ ถ้าไม่สามารถทำได้พยาบาลต้องช่วยดูแล
- จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนนอนหลับอย่างเพียงพอ วางแผนจัดกิจกรรม
ตอนกลางวันให้เหมาะสม เพื่อจะได้นอนหลับได้ในตอนกลางคืน
- พยาบาลต้องหมั่นตรวจสอบร่างกายผู้ป่วยอยู่เสมอ ควรบันทึกพฤติกรรมตั้งแต่แรกรับ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้น เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยต่อไป
- การตรวจสอบกิจกรรมของผู้ป่วยอยู่เสมอ จะช่วยให้พยาบาลจัดสิ่งแวดล้อมได้เหมาะสม
เช่น พื้นที่ลื่น ทางเดินไม่สะดวก ถ้าไม่มีข้อห้ามพยาบาลต้องช่วยให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย
- ป้องกันการกระตุ้นผู้ป่วยมากเกินไป หลีกเลี่ยงการให้งานที่ก่อความวิตกกังวล
- ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการซึมเศร้า อ่อนล้า ถอยหนีจากสิ่งแวดล้อม แยกตัว
พยาบาลต้องประเมินเหตุแห่งความซึมเศร้า เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึก
การวินิจฉัยโรค
- การซักประวัติจากญาติที่ดูแล
-
- และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ตรวจเลือด
- เอ็กซเรย์สมองด้วยคอมพิวเตอร์, คลื่นแม่เหล็ก (MRI)
การวินิจฉัยการพยาบาล
- มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องจากความผิดปกติ ของเชาวน์ปัญญา
- สูญเสียทักษะการเข้าสังคมเนื่องจากความผิดปกติของเชาวน์ปัญญา
- ผู้ดูแลมีภาวะเครียดเนื่องจากภาระในการดูแลและพฤติกรรมของผู้ป่วย
- การดูแลตนเองบกพร่องเนื่องจากความจำเสื่อมไม่สามารถแยกได้ถึงความเหมาะสมกันหรือไม่เหมาะสมในการ แต่งกาย การกิน การเข้าห้องน้ำ
สาเหตุ (ปัจจัยเสี่ยง)
- อายุ พบว่า ผู้ป่วยส่วนมากอายุ 65 ปีขึ้นไป
แต่ก็มีบ้างบางกรณีที่ผู้ป่วยเริ่มมีอาการตอนอายุ 40 ปีปลายๆ
- ประวัติการป่วยภายในครอบครัว
- ป่วยด้วยโรคดาวน์ซินโดรมหรือพากินสัน (Down's syndrome/ Parkinson's disease)
พยาธิสรีรวิทยา
-
ส่งผลกระทบต่อการทำหน้าที่ของเชาวน์ปัญญาและพฤติกรรม และยังพบว่า acetylcholine ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทในสมองที่ทำหน้าที่เป็นตัวกระตุ้น มีปริมาณลดลง
อาการและอาการแสดง
- อาการทางเชาวน์ปัญญา (cognitive aspect) เช่น ความจำเสื่อมลง มีความผิดปกติด้านการใช้ภาษา การคิด การใช้เหตุผล การรับรู้ลดลง หรือมีการตัดสินใจบกพร่อง
- พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงร่วมกับอาการทางจิต (behavioural and psychological symptom of dementia) ได้แก่ การมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง เช่น ก้าวร้าว ไม่อยู่นิ่ง เดินละเมอ แสดงออกทางเพศไม่เหมาะสม กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ซึมเศร้า เห็นภาพหลอน หูแว่ว และหวาดระแวง
การรักษา
-
การรักษาส่วนใหญ่เพื่อบรรเทาอาการที่เกิดขึ้น เช่น การทำกายภาพบำบัด การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม จะช่วยให้ผู้ป่วยอาการดีขึ้น และสามารถปฏิบัติตัวได้ดีขึ้น
การให้ยาสามารถช่วยลดความกังวล จะช่วยให้ผู้ป่วยนอนหลับและสามารถทำกิจกรรมต่างๆ ได้ ปัจจุบันมียา 2 ชนิด
-
- donepezil hydrochloride (Aricept)