Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนครั้งที่ 3 การออกแบบการวิจัย - Coggle Diagram
สรุปการเรียนครั้งที่ 3 การออกแบบการวิจัย
การออกแบบการวิจัย
ความหมาย
สารสนเทศที่ต้องการนำมาใช้ในการตอบปัญหาการวิจัยตามจุดประสงค์
สมมติฐานการวิจัย
เป็นกระบวนการที่ใช้ในการวางแผนการดำเนินการวิจัยที่มีระบบเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล
วัตถุประสงค์
ได้คำตอบของปัญหาการวิจัยที่ถูกต้อง ชัดเจน น่าเชื่อถือ
ลดความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นในการวิจัยให้น้อยที่สุด
ลักษณะของการออกแบบการวิจัยที่ดี
ปราศจากอคติ
ปราศจากความสับสน
สามารถควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้
มีการเลือกใช้สถิติที่ถูกต้องในการทดสอบสมมุติฐาน
ตัวแปร (Variable)
ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ
เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้นเพื่อที่จะทำการทดลองว่า เป็น “สาเหตุ” หรือไม่
ตัวแปรตาม
เป็นตัวแปรที่ เป็น “ผล” มาจากตัวแปรต้น
ตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรภายนอก
เป็นตัวแปรที่ไม่ต้องการให้เกิดขึ้นแต่สามารถควบคุมได้
ตัวแปรสอดแทรก หรือตัวแปรภายใน
เป็นตัวแปรที่ไม่ต้องการให้เกิดขึ้นไม่สามารถควบคุมตัวแปรนี้ได้
ความแตกต่าง
กรอบทฤษฏี (Theoretical Framework)
ตัวแปรทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกันตามทฤษฏี
กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework)
ตัวแปรบางตัวที่เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัย
สรุปเป็นแนวคิดสำหรับการดำเนินการวิจัยของนักวิจัย
กรอบแนวคิดการวิจัย
กรอบแนวคิดการวิจัยที่ดี
นักวิจัยเห็นความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาชัดเจน
นำไปสู่
กำหนดสมมติฐานการวิจัย
กำหนดขอบเขตการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
การออกแบบการวิจัย
การพัฒนาเครื่องมือวิจัย
วิธีการเขียนกรอบแนวคิด
1.ระบุตัวแปรต้น หรือตัวแปรอิสระ เขียนไว้ด้านซ้ายมือใส่ในกรอบสี่เหลี่ยม
2.ระบุตัวแปรตาม เขียนไว้ด้านขวามือ ใส่กรอบสี่เหลี่ยม
3.เขียนลูกศรชี้จากตัวแปรต้นแต่ละตัวมายังตัวแปรตามให้ครบทุกคู่ที่ต้องการศึกษา
การตั้งชื่อวิจัย
ลักษณะชื่อเรื่องวิจัย
สั้น กะทัดรัด ไม่ขาดความหมาย
อ่านได้ใจความ
ลักษณะของคำนาม
ตรงกับประเด็นของปัญหา
ระบุประเภทวิจัย ตัวแปร และกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา
ตัวอย่างคำนำหน้า
การวิจัยเชิงสารวจ
การสำรวจ
การศึกษา
การวิจัยเชิงศึกษาเปรียบเทียบ
การศึกษา
เปรียบเทียบ
การเปรียบเทียบ
การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การศึกษาความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์
การวิจัยเชิงการศึกษาพัฒนาการ
การศึกษาพัฒนาการ
พัฒนาการ
การวิจัยเชิงทดลอง
การทดลอง
การวิเคราะห์
การสังเคราะห์
การเปรียบเทียบ
รูปแบบการทดลอง
แบบกึ่งทดลอง
(Quasi Experimental Design)
1) มีการจัดกระทำ (Manipulation)
2) มีการควบคุม (Control)
รูปแบบการทดลอง
รูปแบบกลุ่มเดียววัดครั้งเดียว
รูปแบบกลุ่มเดียววัดสองครั้ง
รูปแบบกลุ่มเดียววัดสองครั้ง
รูปแบบสองกลุ่มวัดสองครั้ง
รูปแบบกลุ่มเดียววัดหลายครั้งแบบอนุกรมเวลา
แบบทดลองที่แท้จริง
(True Experimental Design)
1) มีการจัดกระทา (Manipulation)
3) มีการสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
2) มีการควบคุม (Control)
รูปแบบการทดลอง
รูปแบบสองกลุ่มวัดครั้งเดียว
รูปแบบสองกลุ่มวัดสองครั้ง
กลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูลการทดลอง
กลุ่มทดลอง (Experimental group)
กลุ่มควบคุม (Control group)
รูปแบบการทดลองอื่นๆ
รูปแบบการทดลองสี่กลุ่มแบบโซโลม่อน
(Solomon Four Group Design)
จุดประสงค์การวิจัย และสมมติฐานการวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย
เป็นสิ่งที่ต้องการศึกษาในการวิจัยครั้งนี้
วิธีเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย
1.เขียนประเด็นให้ชัดเจนอยู่ในกรอบของเรื่องที่ทำวิจัย
2.วัตถุประสงค์ทุกข้อต้องสามารถศึกษาได้หรือวัดได้
3.เขียนเป็นประโยคบอกเล่า ข้อความขึ้นกับสิ่งที่ต้องการศึกษาวิจัย
4.เขียนได้ทั้งวัตถุประสงค์ทั่วไป และวัตถุประสงค์เฉพาะรายข้อ
5.วัตถุประสงค์หนึ่งข้อมีเพียงประเด็นเดียว
6.จำนวนข้อขึ้นอยู่กับขอบเขตของการวิจัย
7.ใช้ภาษากระชับเข้าใจง่าย
สมมติฐาน
(Hypothesis)
ข้อความแสดงการคาดคะเนคำตอบของปัญหา
สมมติฐานทางการวิจัย (Research Hypothesis)
สมมติฐานแบบมีทิศทาง
(Directional Hypothesis)
สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง
(Nondirectional Hypothesis)
ข้อความแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยอาศัยเหตุผลที่ได้ศึกษามา
ข้อความตั้งไว้ล่วงหน้า รอการพิสูจน์ ว่าตรงกับข้อเท็จจริงหรือไม่
สมมติฐานทางสถิติ ( Statistical Hypothesis)
ประโยชน์
มองปัญหาการวิจัยได้ชัดเจน
ทำให้ผู้วิจัยเข้าใจตัวแปรที่ศึกษาชัดเจน
เป็นแนวทางในการออกแบบและดำเนินการวิจัย
ชี้แนวทางการวางแผนเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
ชี้แนวทางการแปลผลและสรุปผล
การเขียนสมมติฐานการวิจัย
เขียนสมมติฐานการวิจัยลาดับให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย
สมมติฐานแต่ละข้อมีเพียงประเด็นเดียว
ควรเขียนตัวแปรที่เกี่ยวข้องและอยู่ในกรอบของปัญหา
ควรเขียนในรูปของประโยคบอกเล่า
สมมติฐานต้องทดสอบได้