Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อไวรัสรับอักเสบชนิดเอ
(hepatitis A virus: HAV)
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และปวดศีรษะ มักไม่มีอาการของดีซ่าน
ตับทํางานผิดปกติ ทําให้มีอาการตับเหลือง ตาเหลือง
เกิดจากการติดเชื้อ hepatitis A virus ซึ่งเชื้อไวรัสสามารถทําให้ตับเกิดการอักเสบ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
การตั้งครรภ์ไม่มีผลทําให้อาการของโรครุนแรงมากขึ้น
มีการติดเชื้อHAV ขณะตั้งครรภ์นั้น สามารถผ่านไปยังทารกในครรภ์ได้
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
เกี่ยวกับการรับประทานอาหาร การขับถ่าย การสัมผัสเชื้อโรค
การตรวจร่างกาย
ตรวจพบลักษณะอาการทางคลินิกของการติดเชื้อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหา antibody-HAV และ IgM-antiHAV และตรวจการทํางานของตับ
การป้องกันและการรักษา
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาการติดเชื้อ HAV
การรักษาแบบประคับประคองตามอาการที่ปรากฏ
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา การดูแลตนเอง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
แนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
2.1 พักผ่อนอย่างเพียงพอ
2.2 รับประทานอาหารที่สุก สะอาด ย่อยง่าย และดื่มน้ำให้เพียงพอ
2.3 มาตรวจตามนัด
2.4 หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี
(Hepatitis B virus)
เกิดจากการติดเชื้อ Hepatitis B virusผ่านทางเลือด น้ำลาย อสุจิ สิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอด น้ำนม และผ่านทางรก
พยาธิสรีรภาพ
1. ระยะแรก
เชื้อHepatitis B virus เข้าสู่ร่างกาย แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ผู้ที่ได้รับเชื้อจะยังไม่มีอาการแสดง
2. ระยะที่สอง
ระยะนี้ร่างกายจะสร้าง anti-HBe ขึ้นมาเพื่อทําลาย HBeAg
3. ระยะที่สาม
anti-HBe ทําลาย HBeAg จนเหลือน้อยกว่า 105 copies/mL (20,000 IU/mL)
4. ระยะที่สี่
anti-HBe ไม่สามารถทําลาย HBeAg ได้จนเหลือน้อยกว่า 105 copies/mL จะเข้าสู่ภาวะตับอักเสบเรื้อรังจนเนื้อตับเสียหาย
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงไม่แตกต่างกับสตรีที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
มีไข้ต่ำ ๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง อาจปวดทั่วไปหรือปวดบริเวณชายโครงขวา
คลําพบตับโต กดเจ็บ ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีชา
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่มีอาการแสดงของตับอักเสบจะไม่เสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน
แต่หากมีการติดเชื้อ Hepatitis B virus ในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกําหนด
ผลต่อทารก
ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
ทารกตายในครรภ์
เสียชีวิตแรกเกิด
มีโอกาสที่จะติดเชื้อ
การประเมินและการวินิจฉัย
1.
การซักประวัติ
การเป็นพาหะของโรค หรือเคยมีอาการแสดงของโรคเคยสัมผัสใกล้ชิดกับคนที่เป็น หรือคนที่เป็นพาหะ
การตรวจร่างกาย
พบอาการและอาการแสดง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ตับโต ตัวเหลืองตาเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจการทํางานของตับ และตรวจหา antigen และ antibody ของไวรัส
แนวทางการป้องกันและรักษา
1.คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย ตรวจหา HBsAg เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก ตรวจซ้ำอีกครั้งในไตรมาสที่ 3
2.กรณีได้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อ Hepatitis B virus
2.3 ในรายที่มีอาการเบื่ออาหารและอาเจียน อาจให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา ให้ยาแก้อาเจียน
2.4 แนะนําให้พาสมาชิกในครอบครัวและสามีมาตรวจเลือด เพื่อหา HBsAg และ HBsAb
2.2แนะนําให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย
2.5ให้การรักษา ด้วยยา Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) ขนาด 300 mg
2.1ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ งดการออกแรง
2.6ติดเชื้อ Hepatitis B virus แต่ค่า HbeAg เป็นลบและเอนไซม์ตับปกติ ไม่จําเป็นต้องรักษา
2.7 หลีกเลี่ยงการทําหัตถการที่จะทําให้เกิดความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
2.8 พิจารณาให้คลอดทางช่องคลอด
2.9 ทารกที่เกิดจากสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ Hepatitis B virus รับการฉีด Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) ให้เร็วที่สุด และฉีด HB vaccineภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด
2.10สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมารดาได้ทันที ไม่จําเป็นต้องรอจนกระทั่งทารกแรกเกิดได้รับวัคซีน
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกคนว่าเป็นพาหะของโรคหรือไม่
ให้คําแนะนําแก่สตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับสาเหตุ การติดต่อ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
อธิบายแก่สตรีตั้งครรภ์เข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญของการมาตรวจตามนัด
ในรายที่มีการติดเชื้อเรื้อรัง แนะนําการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะหลังคลอด
แนะนําการปฏิบัติตัวเช่นเดียวกับมารดาหลัง คลอดทั่วไป เน้นการรักษาความสะอาด
ไม่จําเป็นต้องงดให้นมมารดาแก่ทารก
แนะนําให้นําทารกมารับวัคซีน
ระยะคลอด
ให้นอนพักบนเตียงและให้การดูแลเหมือนผู้คลอดทั่วไป
หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำคร่ำ และการตรวจทางช่องคลอด
เมื่อศีรษะทารกคลอด ดูดมูก เลือดและสิ่งคัดหลั่งต่างๆออกจากปากและจมูกของทารก
ดูแลให้ทารกได้รับภูมิคุ้มกันภายหลังคลอด โดยฉีดHepatitis B immunoglobulin
ทําความสะอาดทารกทันทีที่คลอด
ให้การดูแลผู้คลอดโดยยึดหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หัดเยอรมัน (Rubella/German measles)
พยาธิสรีรภาพ
กลุ่มไม่มีอาการทางคลินิก โดยกลุ่มนี้จะตรวจพบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อหัดเยอรมันอย่างเดียว และจะกลายเป็นพาหะของโรค
กลุ่มที่มีอาการทางคลินิก คือมีผื่นที่ใบหน้า ลามไปที่ลําตัวและแขนขา ลักษณะของผื่นจะเป็นตุ่ม เกิดได้ตั้งแต่วันที่ 7-10 หลังได้รับเชื้อ และจะคงอยู่ 4 สัปดาห์
หัดเยอรมัน (Rubella หรือ German measles)เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ rubella virus
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง ไอ เจ็บคอ และต่อน้ำเหลืองบริเวณหลังหูโต อาจมีอาการปวดข้อ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่เกิดผลกระทบต่อมารดา แต่รู้สึกไม่สุขสบายเล็กน้อยเท่านั้น
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นชั่วคราว
ตัวเหลือง
โลหิตจาง
เกล็ดเลือดต่ำ
ตับม้ามโต
ปอดบวม
กระดูกบาง
ความผิดปกติถาวร
หูหนวก
หัวใจพิการ
ตาบอด
สมองพิการ
ปัญญาอ่อน
ความผิดปกติที่ไม่พบขณะแรกเกิดแต่ปรากฏภายหลัง
ภาวะเบาหวาน
โรคต่อมไทรอยด์
สูญเสียการได้ยิน
ลิ้นหัวใจผิดปกติ
ความดันโลหิตสูง
สมองอักเสบ
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การสัมผัสผู้ติดเชื้อหัดเยอรมัน หรือผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อ อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
อาจพบผื่นสีแดงคล้ายหัด ตาแดง ไอ จาม เจ็บคอ ปวดเมื่อย ครั่นเนื้อครั่นตัว ต่อมน้ําเหลืองโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โดยตรวจ Hemagglutination inhibition test (HAI)
การป้องกันและการรักษา
ให้ภูมิคุ้มกัน
หลังคลอดต้องเก็บเลือดจากสายสะดือส่ง ตรวจเพื่อยืนยันการติดเชื้อและตรวจร่างกายอย่างละเอียด
การพยาบาล
แนะนําให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
ประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึกและซักถามข้อสงสัย
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดําเนินของโรค
ให้วัคซีน
กรณีที่ตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ เตรียมร่างกายและจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ให้พร้อม
รายที่ตัดสินใจดําเนินการตั้งครรภ์ต่อ และคลอดทารกที่มีความพิการ ดูแลด้านจิตใจของมารดาและครอบครัว
ในสตรีที่มาฝากครรภ์ควรตรวจดูว่ามีภูมิคุ้มกันหรือไม่
สตรีที่ไม่มีภูมิคุ้มกันหรือไม่เคยฉีดวัคซีน ควรได้รับการฉีดวัคซีน
สุกใส
(Varicella-zoster virus: VZV)
เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชื่อ Varicella-zoster virus (HZV) ซึ่งเป็นเชื้อเดียวกับที่ทําให้เกิดโรคงูสวัด
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อรับเชื้อเข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อเมือกบุทางเดินหายใจ ซึ่งเชื้อโรคมีระยะฟักตัวนาน 10-20 กรณีที่โรคสุกใสเกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอด จะเรียกว่า congenital varicella syndrome ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์
อาการและอาการแสดง
มักจะมีไข้ต่ำๆ
มักจะขึ้นตามไรผม หรือหลังก่อน แล้วค่อยลามไปบริเวณหน้าลําตัว และแผ่นหลัง
ตุ่มน้ำใสๆ บนฐานสีแดง เหมือนหยาดน้ำค้างบนกลีบกุหลาบ
ปวดเมื่อยตามตัวร่วมด้วย คล้ายอาการของไข้หวัดใหญ่
อาจมีต่อมน้ำเหลืองที่คอ และหลังหูโต กดเจ็บ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
1. การติดเชื้อในครรภ์
ทารกเกิดความพิการก่อนกําเนิด
ตายในระยะแรกคลอด
คลอดก่อนกําหนด
2. การติดเชื้อปริกําเนิด
ติดเชื้อผ่านทางมดลูก และช่องทางคลอด
ผลกระทบต่อทารก
ภาวะปอดอักเสบ
ปอดบวม
ระบบหายใจล้มเหลว
อาจจะมีอาการทางสมอง
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การสัมผัสผู้ติดเชื้อสุกใส หรือผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อ อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
มีไข้มีผื่นตุ่มน้ำใสตามไรผม ตุ่มน้ำใสๆ บนฐานสีแดง เหมือนหยาดน้ำค้างบนกลีบกุหลาบ ลามไปบริเวณหน้าลําตัว และแผ่นหลัง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM
การตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgG
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกันโดยไม่สัมผัสโรค หลีกเลี่ยงคนที่ป่วยเป็นสุกใส
การรักษาแบบประคับประคอง
การรักษาแบบเจาะจงโดยการใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใสAcyclovir
การพยาบาล
ระยะก่อนตั้งครรภ์
แนะนําให้สตรีวัยเจริญพันธุ์ที่วางแผนตั้งครรภ์ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันสุกใสก่อนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ และรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง วิตามินซีสูง
2.ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
3.เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึก
ระยะคลอด
1.ให้การดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
กรณีที่มารดามีอาการให้แยกทารกแรกเกิดจากมารดาในระยะ5วัน
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
กรณีพ้นระยะการติดต่อสามารถแนะนําเกี่ยวกับการให้นมมารดาได้
แนะนําการรับประทานอาหารโปรตีนและวิตามินซีสูง พักผ่อนเพียงพอ
ดูแลให้ทารกรับวัคซีน VariZIG
เน้นย้ําให้เห็นความสําคัญของการมาตรวจตามนัด
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส
(Cytomegalovirus: CMV)
มักพบการติดเชื้อในผู้ใหญ่ โดยอาจได้รับเชื้อทางการให้เลือด การสัมผัสทางปาก หรือทางเพศสัมพันธ์
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อ CMV ติดต่อเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทางการสัมผัส แหล่งของเชื้อ CMV พบได้จากสารคัดหลั่งหลายชนิด
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงนานปวดกล้ามเนื้อ หรือมีอาการ ปอดบวมตับอักเสบ และอาการทางสมอง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ระบบภูมิคุ้มกันจะลดลง
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกําหนด
รกลอกตัวก่อนกําหนด
มีการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ํำ
ผลกระทบต่อทารก
คลอดก่อนกําหนด
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ตายคลอด
การประเมินและการการวินิจฉัย
การซักประวัติ
เกี่ยวกับประวัติการติดเชื้อในอดีต ลักษณะของอาการและอาการแสดงที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย
มีไข้ คออักเสบ ต่อมน้ําเหลืองโต ข้ออักเสบ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Amniocentesis for CMV DNA PCR
การตรวจPlasma specimen for culture หรือquantitative real-time PCR
การเจาะเลือดส่งตรวจพบ Atypical Lymphocytes และเอ็นไซน์ตับสูงขึ้น
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
1.วัคซีน
2.ควรวางแผนเว้นระยะการมีบุตร
3.รักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล
การรักษา
1.การให้ immunoglobulin ของ anti-cytomegaloviral human
2.การให้ยาต้านไวรัส
การประเมินอาการและอาการแสดงของทารกแรกเกิดที่มีการติดเชื้อ
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
2.อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวทราบเกี่ยวกับโรค สาเหตุ อาการ
3.แนะนําและเน้นย้ำให้เห็นความสําคัญของการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
1.ซักประวัติ
ระยะคลอด
ให้การดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
ให้การดูแลในระยะหลังคลอดเหมือนมารดาทั่วไป
2.งดให้นมมารดา หากมารดาหลังคลอดมีการติดเชื้อ
3.แนะนําการปฏิบัติตนหลังคลอด
4.แนะนําให้สังเกตอาการผิดปกติของทารก
การติดเชื้อโปรโตซัว
(Toxoplasmosis)
การติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อโปรโตซัว Toxoplasma gondii การติดเชื้อเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
มักไม่ค่อยแสดงอาการ
มีอาการน้อย คือ อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การแท้ง
คลอดก่อนกําเนิด
ถุงน้ำคร่ำและเยื่อหุ้มทารกอักเสบ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกําหนด
รกลอกตัวก่อนกําหนด
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกติดเชื้อในครรภ์
ไข้ ชัก ทารกหัวบาตร microcephaly
chorioretinitis
หินปูนจับในสมอง
ตับและม้ามโต ตาและตัวเหลือง
ชีวิตหลังคลอด
สมองและตาถูกทําลาย
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรค
การตรวจร่างกาย
มักไม่แสดงอาการ หรือมีอ่อนเพลียเล็กน้อย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือดสายสะดือทารกหรือน้ำคร่ำ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจเลือดหา DNA ของเชื้อ
แนวทางการป้องกันและการรักษา
3.หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก ผักผลไม้ที่ไม่ผ่านการล้าง นมสดที่ไม่ผ่านการพาสเจอร์ไรส์
4.เมื่อต้องให้การดูแลสวนหญ้า แนะนําให้สวมถุงมือยาง ล้างมือให้สะอาด
ถ้าพบ IgM ในมารดา อนุมานว่ามีการติดเชื้อ และรักษาด้วย spiramycin
2.หากจําเป็นต้องทําความสะอาดอุจจาระแมว สวมถุงมือยาง และล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง
1.ให้ผู้อื่นเป็นผู้ดูแลแมวแทนในช่วงที่ตั้งครรภ์
การวินิจฉัยในทารกก่อนคลอด สามารถกระทําได้ การเจาะเลือดสายสะดือทารก
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง
4.แนะนําเกี่ยวกับการสัมผัสเชื้อ
ติดตามผลการตรวจเลือด
ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเปิดโอกาสให้ซักถาม และให้กําลังใจ
ระยะคลอด
ให้การดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ภายหลังทารกคลอดเช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันที
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนําการปฏิบัติตนหลังคลอด
การติดเชื้อไวรัสซิก้า
(Zika)
เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อฟลาวิไวรัส(Flavivirus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนําโรค
การพยาบาล
ให้คําแนะนําในการป้องกันสาเหตุและปัจจัยที่ทําให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสซิกา อาการและอาการแสดงของโรค
การติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์
2.1 อธิบายเกี่ยวกับการดําเนินของโรค สาเหตุ อาการและอาการแสดง
2.2 ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิ
2.3 เตรียมสตรีตั้งครรภ์เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ และติดตามผล
2.3 ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
2.4 เน้นย้ํำการมาตรวจครรภ์ตามนัด
การดูแลในระยะคลอดให้การดูแลเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ตรวจร่างกายทารกแรกเกิด ประเมินสภาพร่างกายทั่วไป
การดูแลมารดาหลังคลอดให้การดูแลเหมือนมารดาทั่วไป
อาการและอาการแสดง
ไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อยตามตัว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มีผื่นขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์
บางการศึกษาพบผื่นหลังคลอด
อาการอื่น ๆ เช่น
อาการไข้ หนาวสั่นรู้สึกไม่สุขสบาย
ปวดข้อ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อตึงตัว
อ่อนเปลี้ยเพลียแรง ตัวตาเหลือง ชา อัมพาตครึ่งซีก
ผลกระทบต่อทารก
ระบบประสาท ตาและการมองเห็น
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
ทารกตายในครรภ์ และตายหลังคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
มีไข้ อ่อนแรง เยื่อบุตาอักเสบ ต่อมน้ําเหลืองโต ตัวเหลือง ซีด บวมปลายมือปลายเท้า เลือดออกตามผิวหนัง มีอาการทางระบบทางเดินหายใจ
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
โดยใช้สิ่งส่งตรวจ เช่นเลือด ปัสสาวะ น้ําลาย เทคนิคที่ใช้ในการตรวจ
การซักประวัติ
โดยการซักประวัติอาการของผู้ป่วย
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อประเมินเส้นรอบศีรษะทารกในครรภ์
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทางกีฏวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทารกที่มีความพิการแต่กําเนิด
ระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบประสาท
การรักษา
ไม่มีวัคซีนป้องกันโรคไข้ซิกา
การรักษาทําได้ด้วยการพักผ่อนให้เพียงพอ
โรคโควิด-19 กับการตั้งครรภ์
(COVID-19 during Pregnancy)
โรคโควิด-19 เป็นโรคอุบัติใหม่ที่ระบาดได้รวดเร็วจนแพร่กระจายทั่วโลกเกิดจากเชื้อไวรัสตระกูลCorona ชื่อ SARS-CoV-2
อาการและอาการแสดง
ไม่แสดงอาการใด ๆ และมีอาการและอาการแสดงของอุณหภูมิร่างกายตั้งแต่37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ผลกระทบต่อการสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
คลอดก่อนกําหนด มีการติดเชื้อของเยื่อหุ้มเด็ก ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกําหนด รกเสื่อม และรกลอกตัวก่อนกําหนด
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์พัฒนาการล่าช้า
คลอดน้ำหนักตัวน้อย คลอดก่อนกําหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
มีไข้สูงมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ไอแห้ง หายใจติดขัด อาจมีคัดจมูก มีน้ามูกเจ็บคอไอเป็นเลือด หรือท้องเสีย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดจะพบเม็ดเลือดขาวต่ำ
การยืนยันการติดเชื้อไวรัส โดยตรวจหา viralnucleic acid
ให้ส่งสิ่งคัดหลั่งตรวจหาเชื้อไวรัสอื่น
การส่งเพาะเชื้อแบคทีเรียจากเลือด
การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสผู้ที่การติดเชื้อ ระยะเวลาและประวัติการเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยง
การตรวจพิเศษ
ได้แก่ การตรวจเอกซเรย์ปอดหรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องอกพบมีปอดอักเสบ
แนวทางการรักษา
1. สถานที่และบุคลากร
บุคลากรใส่ชุด PPEการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในรพ.และไปกับรถพยาบาล บุคลากรต้องใส่ fullPPE
2.การดูแลรักษา
2.1 สตรีตั้งครรภ์ที่สงสัยจะติดเชื้อโรคโควิด-19
2.1.1 ถ้ามีไข้ ห้ามใช้ยากลุ่ม NSAIDs
2.1.2หากเป็นไปได้ให้เลื่อนการนัดผ่าตัดคลอดหรือการกระตุ้นคลอดออกไปอย่างน้อย 14วันหรือจนกว่าผลตรวจเชื้อไวรัสเป็นลบ
2.2 สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อแต่อาการไม่รุนแรง
ให้ยาต้านไวรัส
2.3 สตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการรุนแรง
2.3.1 หากอาการแย่ลงควรคิดถึงภาวะpulmonary embolism
2.3.2ไม่ให้ออกซิเจนทาง face mask หรือ face mask with bag
2.3.3On EFMถ้าอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
2.3.4ให้ยาต้านไวรัสและ/หรือยาอื่น ๆ
2.3.5 ยุติการตั้งครรภ์ตามข้อบ่งชี้ด้านสูติศาสตร์
2.4 การดูแลรักษากรณีฉุกเฉิน
2.5 กรณีเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
2.6 การดูแลทารกแรกเกิด
2.7การดูแลมารดาหลังคลอด
2.8 การดูแลด้านจิตใจ
การพยาบาล
การดูแลและการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ COVID-19
1.1 หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการไอ เป็นไข้ หรือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง
1.2รักษาระยะห่าง social distancing
1.3หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
1.4รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่เสมอ
1.5 หลีกเลี่ยงการใช้ภาชนะรับประทานอาหารและของใช้ส่วนตัว ร่วมกับผู้อื่น
1.6ล้างมือบ่อยๆ
1.7ในขณะไม่ได้สวมหน้ากากอนามัย ถ้ามีอาการไอ จาม ให้ใช้ต้นแขนด้านบนปิดปากทุกครั้ง
หากมีอาการป่วยเล็กน้อย ควรพักผ่อนอยู่ที่บ้าน
1.9 เน้นย้ําให้สตรีตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามนัดได้ตามปกติ
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด ที่เป็น กลุ่มเสี่ยงที่มีประวัติการเดินทางมาจากประเทศกลุ่มเสี่ยง หรือสัมผัสหรือใกล้ชิดผู้ป่วย COVID-19
2.1แยกตนเองออกจากครอบครัว และสังเกตอาการจนครบ 14 วัน
2.2งดการออกไปในที่ชุมชนสาธารณะโดยไม่จําเป็น
2.3 กรณีครบกําหนดนัดฝากครรภ์ ต้องแจ้งพยาบาลผดุงครรภ์ให้ทราบว่าตนเองอยู่ระหว่างการเฝ้าระวัง 14 วัน
2.4 กรณีเจ็บครรภ์คลอด ต้องไปโรงพยาบาลทันที
การดูแลทารกแรกเกิด ในกรณีมารดาเป็นผู้ที่สงสัยติดเชื้อและติดเชื้อ COVID-19 ยังไม่มีหลักฐานการติดต่อผ่านทางรกหรือผ่านทางน้ํานมแต่อย่างใด
แนวทางการปฏิบัติในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เมื่อคํานึงถึงประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และยังไม่มีหลักฐานทางวิชาการในการแพร่เชื้อไวรัสผ่านทางน้ำนม
ข้อแนะนําการปฏิบัติสําหรับมารดาหลังคลอดในกรณีแม่เป็นผู้ที่สงสัยว่าจะติดเชื้อ
5.1ก่อนเริ่มกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเตรียมนมและการปั๊มนม
5.2อาบน้ำหรือเช็ดทําความสะอาดบริเวณเต้านมและหัวนมด้วยน้ําและสบู่
5.3ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ําและสบู่นานอย่างน้อย 20 วินาที หรือแอลกอฮอล์เข้มข้น 70%
5.4สวมหน้ากากอนามัย ตลอดการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการเตรียมนม และการปั๊มนม
5.5 หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการ เตรียมนมและการปั๊มนม
5.6 ล้างทําความสะอาดอุปกรณ์
5.7การให้นม ควรให้ผู้ช่วยเหลือหรือญาติที่มีสุขภาพแข็งแรงที่ทราบวิธีการป้อนนมที่ถูกต้อง และต้องปฏิบัติตามวิธีการป้องกันตนเองอย่างเคร่งครัด