Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม, นางสาวภัทรวดี เลียลา…
หน่วยที่ 3
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม
ภาษาเป็นวัฒนธรรม
ภาษาเป็นวัฒนธรรมที่ทำให้คนในชาติรวมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งนี้เพราะชนชาติที่ใช้ภาษาเดียวกันมักจะมีความรู้สึกร่วมกันมีความเห็นอกเห็นใจกันมีวิถีชีวิตร่วมกันจนเกิดความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
เครื่องมือสื่อความหมายที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อถ่ายทอดวัฒนธรรมแก่กันและกันอนึ่งวัฒนธรรมทางภาษานี้ตามหลักของยูเนสโกซึ่งเป็นหลักสากลกำหนดให้อยู่ในสาขาศิลปะว่าด้วยเรื่องของภาษาวรรณคดีดนตรีฟ้อนรำวิจิตรศิลป์ ฯลฯ
ภาษาเป็นเครื่องมือที่มนุษย์สร้างขึ้นด้วยสติปัญญาเพื่อใช้สื่อสารให้เกิดความเข้าใจกันใช้ในการถ่ายทอดความคิดความรู้เพื่อสร้างสรรค์ให้เกิดความเจริญก้าวหน้าใช้ในการอบรมสั่งสอนเพื่อให้เป็นคนดีสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข
ภาษาเป็นเครื่องบันทึกวัฒนธรรม
ประสิทธิ์กาพย์กลอนได้วิเคราะห์หน้าที่
หลักของภาษาไว้ว่ามี 4 ประการ
2 ใช้เป็นเครื่องมือแสดงความคิดและเหตุผล
3 ใช้เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้และความเพลิดเพลิน
ใช้เป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
ใช้ภาษาเป็นตัวบันทึกเหตุการณ์เรื่องราวและความคิดความเชื่อต่าง ๆ ของสังคมเอาไว้
ด้วยเหตุที่ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันดังได้กล่าวมาแล้วจึงมีผู้กล่าวว่า หากเราต้องการจะเข้าใจวัฒนธรรมของผู้ใช้ภาษาใดก็อาจใช้ภาษานั้นเป็นข้อมูลเพื่อสืบค้นได้และในทางตรงกันข้ามหากเราไม่เข้าใจความหมายของถ้อยคำในภาษาใดอย่างชัดเจนก็อาจศึกษาวัฒนธรรมของผู้ใช้ภาษานั้น
“ ภาษา” จึงเป็น“ สื่อ” ทำให้เราสามารถรับรู้วัฒนธรรมของสังคมในสมัยก่อนได้วัฒนธรรมบางอย่างมิได้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร แต่อาศัยการบอกเล่าจดจำต่อ ๆ กันมา
การใช้ภาษาในชีวิตประจำวันของคนเรานั้นไม่มีตอนใดเลยที่จะหลุดพ้นไปจากอิทธิพลของสังคมจึงย่อมแฝงความรู้สึกนึกคิดทัศนะค่านิยมและเหตุการณ์บางอย่างของสังคมไว้เสมอ
วัฒนธรรมในการ
ใช้ภาษาไทย
2. ใช้ภาษาเพื่อสั่งสอน
มีลักษณะเป็นสำนวนภาษิตสุภาษิตคำพังเพยคำอุปมาอุปไมยคำคมคำขวัญคติพจน์นิทานชาดกนิทานเทียบสุภาษิตพระธรรมเทศนาบทความแหล่เทศน์
1. ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
4. ใช้ถ้อยคำที่สื่อความหมายได้แจ่มแจ้งชัดเจน
5. ใช้ภาษาที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน
3. ใช้ภาษาสุภาพ ไม่ใช้คำหยาบคาย หรือใช้คำผวน ที่ทำให้ควมหมาย เป็นไปในทางหยาบโลน
ุ
6. ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามกาลเทศะ และเหมาะสมกับฐานะของบุคคล
2. ใช้ภาษาเสียงได้ถูกต้องชัดเจนเพื่อผลสัมฤทธิ์ในการสื่อสาร
ออกเสียง ร ล ไม่ชัด
ออกเสียงควบกล้ำไม่ชัด
แยกพยางค์ไม่ถูก
ออกเสียงรวมพยางค์
ออกเสียงไม่ถูกตามพจนานุกรม
7. ใช้ภาษาด้วยถ้อยคำที่เลือกเฟ้นเป็นพิเศษ
ให้เหมาะสมกับโอกาสและพิธีการต่างๆ
การกล่าวทักทาย
การกล่าวคำขอโทษเมื่อทำผิดพลาด
การกล่าวคำขอบใจ
การกล่าวขอความช่วยเหลือ
การกล่าวคำอวยพร
1. ใช้ภาษาได้ถูกต้องตามแบบแผนของภาษาไทย
ไม่ควรเขียนสะกดการันต์ผิดอักขรวิธีไทย
ไม่ควรใช้ภาษาสแลง
ไม่ควรใช้คำภาษาต่างประเทศ ที่สามารถใช้แทนได้ด้วยภาษาไทย
ไม่ควรตัดคำ หรือย่อคำเอาตามใจชอบ
ไม่ควรใช้ประโยคที่ผิดแบบแผน หรือผิดโครงสร้างของภาษาไทย
8. ใช้สำนวนให้ถูกต้องเหมาะสม
3. ใช้ภาษาเพื่อสร้างสรรค์
เครื่องมือที่สำคัญคือภาษาเพราะวรรณกรรมเป็น
ผลิตผลของการใช้ภาษาเพื่อการ
สร้างสรรค์
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ภาษาและวัฒนธรรม
ลักษณะสำคัญของ
วัฒนธรรมการใช้ภาษาไทย
ภาษาไทยมีการใช้ภาษาโดยคำนึงถึงกาลเทศะและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
การใช้ภาษาต้องมีศิลปะ
ภาษาไทยมีระเบียบการใช้ถ้อยคำ
ให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคล
การใช้ภาษาต้องมีวิจารณญาณและมีความรอบคอบ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมนั่นเป็นความสัมพันธ์
แบบใกล้ชิด
ภาษาเป็นเครื่องมือถ่ายทอดวัฒนธรรมบรรดา
วัฒนธรรมสาขาต่างๆ
ภาษาสะท้อนให้เห็นถึงประวัติความเป็นอยู่
ของมนุษย์ในอดีตหรือวัฒนธรรมของชาตินั้น ๆ
ภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งเพราะภาษาเป็นสิ่งที่
มนุษย์สร้างขึ้นมีการเรียนรู้ถ่ายทอดและเจริญงอกงาม
ภาษาเป็นเครื่องบ่งชี้วัฒนธรรมของผู้ใช้ถ้อยคำในภาษามีระดับและนอกจากสื่อความหมายแล้วยังสื่อความรู้สึกได้อีกด้วย
ภาษาเป็นเครื่องอบรมจิตใจและความประพฤติของผู้ใช้ให้มีความละเอียดอ่อนในภาษาไทยเรามีการใช้คำราชาศัพท์สำหรับบุคคลที่เป็นเจ้านายพระราชาและราชวงศ์พระสงฆ์และสุภาพชนโดยใช้ภาษาสำหรับการปฏิบัติภารกิจแต่ละอย่างแตกต่างไปจากภาษาที่สามัญชนใช้
นางสาวภัทรวดี เลียลา 61206678
เลขที่ 27 sec 19