Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสุขตามทัศนะพระพุทธศาสนา - Coggle Diagram
ความสุขตามทัศนะพระพุทธศาสนา
ความสุข 3 มิติ
. สภาวะความสุขความสบาย
.สภาวะที่สามารถทนต่อความทุกข์ได้
.สภาวะที่ปราศจากความทุกข์
ประเภทของความสุข 2 ลักษณะ
สุขกาย หรือกายิกสุข (โลกิยสุข) เกิดจากการรับรู้
สุขใจหรือเจตสิกสุข (โลกุตตรสุข) เป็นสภาวะแห่งใจที่มีปกติผ่องใส
การพัฒนาชีวิตของมนุษย์ 4 ส่วน
1.ความสุขทางกาย (physical) ได้แก่ ร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ผูที่มีความสุขด้านนี้เรียกว่า "ภาวิตกายบุคคล"
ความสุขทางสังคม หรือ ศีล (moral) ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่ดี มีคุณภาพ ไม่เบียดเบียนกัน ความสุขด้านนี้เรียกว่า "ภาวิตสีลบุคคล"
ความสุขทางจิตใจ (emotional) ได้แก่ มีส่วนประกอบทางด้านความดีความงามทั้งหลาย ความสุขนี้เรียกว่า "ภาวิตจิจบุคคล"
ความสุขทางปัญญา (intellectual) ได้แก่ มีสติปัญญษ ความเชื่อ ความรู้ สามรถอยู่กับความเป็นจริงของโลกความสุขด้านนี้เรียกว่า "ภาวิตปัญญาบุคคล"
บ่อเกิดแห่งความสุข
กามสุข =เกิดจากกาม เกิดจากการสนองตามประสาทสัมผัสทั้ง 6 คือ หู ตา จมูก ลิ้น กายและใจ
.ฌาน คือ ความสุขเกิดจากการภาวนา เช่น การปฏิบัติสมาธิแล้วเกิดความดื่มด่ำลึกซึ้ง
วิมุติสุข คือ เกิดจากจิตที่หลุดพ้นจากพัธนาการของกิเลสทั้งปวง
วิธีสร้างความสุข
กามสุข ก้าวหาไปหาและตอบสนองประสาทสัมผัสทั้ง 6
ฌานสุข ฝึกสมาธิ ภาวนา วิปัสสนากรรมฐาน
วิมุติสุข เจริญวิปัสสนากรรมฐานเพื่อให้จิตรู้เท่าทันความเป็นจริง
วิธีสร้างความสุขอย่างง่าย 5 ประการ
สร้างความสุขจากเสพหรือสนองตอบ ตา หู ลิ้น กายและใจ
พัฒนาใจให้มีคุณธรรม
รู้เท่าทันกับโลกและชีวิตไม่ยึดติดกับความสุข
ปรุงแต่งใจให้เป็นสุข
พัฒนาปัญญาให้เข้าถึงอิสรภาพ
วิธีปฏิบัติต่อความสุข 4 ประการ
ไม่เอาทุกข์ทับถมใจที่ไม่เป็นทุกข์
แสวงหาความสุขโดยชอบธรรม
ต้องไม่ยึดติดในความสุขในชอบธรรม
เรามีความสุขจากกามแล้วต้องพัฒนาไปจนถึงจิตที่เป็นวิมุติสุขด้วย