Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่ายหญิง อายุ 26 ปี, image, image - Coggle Diagram
ผู้ป่ายหญิง อายุ 26 ปี
CC: 3 วันก่อนมา ถ่ายเหลว 3 ครั้ง มีไข้ อ่อนเพลีย
PI:2 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล อาการบวม ที่หน้าและทั่วตัว ไม่ได้รักษา
1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ไอ มีเสมหะ อยู่ 5 รู้สึกเหนื่อยเวลาไอ แพทย์วินิจฉัยว่าปอดบวม
2 สัปดาห์ที่ผ่านมา มีไข้ ถ่ายเหลว มีเนื้อปน 4-5 ครั้งต่อวัน
3วันก่อน ไข้ยังสูงทุกวัน ข้อเท้าบวมแดง มีต่อน้ำเหลืองที่คอโตด้านขวา
Systemic Lupus Erythematosus (SLE) โรคแพ้ภูมิตัวเอง
แพทย์สั่งทำ Lumbar Puncture
ปัจจัยกระตุ้นการเกิดโรค
ภาวะ complement deficency
ฮอร์ดมนเพศหญิง
แสงแดด
ultraviolat
1 more item...
estrogen
เพิ่มการสร้าง auto-antybiodies ทำให้ต่อม thymus เล็กลง
1 more item...
การติดเชื้อ
โรค autoimmune มีภูมิคุ้มกันของโรคต่ำ
ทำให้โรคกำเริบได้
สารเคมีเเละสิ่งแวดล้อม
ความเครียด
1 more item...
จะทำให้ยับยั้งเอนไซน์ที่เกี่ยวข้องกับการเมทาบอลิซึมของ auto-antibody
1 more item...
complement ของโปรตีนเซรั่ม
ช่วยให้มีแบคทีเรียที่มี Antibody ที่เกาะอยู่ถูกเซลล์จับกินและช่วยควบคุมการอักเสบ
เมื่อเกิด complement จะทำให้ควบคุมการอักเสบไม่ได้
ข้อที่ 10 มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อน-หลังเจาะน้ำไขสันหลัง
ข้อมุลสนับสนุน ญาติบอกว่ากังวลเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการเจาะนำไขสันหลัง แพทย์มีคำสั่งทำ Lumbar Puncture
ก่อนทำ
ควรงดอาหารและน้ำดื่มเป็นเวลาอย่างน้อย 4-6 ชั่วโมง
ประเมินV/S
อธิบายเหตุผลในการทำวิธีการทำให้ผู้ป่วยทราบและตอบคำถามของผู้ป่วย
-ให้ผู้ป่วยหรือยาติเซ็นใบยินยอมรับการตรวจรักษา
.หลังทำ
กดห้ามเลือด และปิดไว้ด้วยผ้าปิดแผลสะอาด
วัดสัญญาณชีพและสังเกตอาการผู้ป่วยทุก 1 ชั่วโมง
ควรนอนราบหนุนหมอนใบเล็ก อย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เช่น ปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน
ผู้ป่วยและญาติสีหน้าดีขึ้น มีความกังวลลดลง ได้ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการทำหัตถการ