Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับสภาการพยาบาลด้วยจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ…
ข้อบังคับสภาการพยาบาลด้วยจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 1 บททั่วไป(ข้อ4)
การเจ็บป่วยวิกฤต
เจ็บป่วยรุนเเรงถึงชีวิต
การปฐมพยาบาล
การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เจ็บป่วย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การได้รับบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยกระทันหัน จำเป็นต้องได้รับการประเมิน ต้องดำเนินการช่วยเหลือทันที
การให้ภูมิคุ้มกัน
ทำให้ร่างกายสร้างหรือเกิดภูมิคุ้มกัน
การรักษาโรคเบื้องต้น
การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิจฉัย การรักษาโรคและการบาดเจ็บ การปฐมพยาบาลเพื่อการแก้ปัญหาความเจ็บป่วยทรรเทาความรุนแรงอาการของโรค
หมวดที่ 2 การะประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่วนที่ 1 การพยาบาล(ข้อ 5-8)
ข้อ 6 จะให้ยาได้เฉพาะผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
6.1 ห้ามใช้ยา หรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลังหรือช่องไขสันหลัง หรือสายสวนทาง
หลอดเลือดดำส่วนกลาง
6.2 ห้ามใช้ยาหรือสารละลายหรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสีวินิจฉัยและยาอื่นๆ
ข้อ 7 การผดุงครรภ์ชั้นสอง ให้กระทำการพยาบาลไม่ยุ่งยากซับซ้อนตามแผนการพยาบาล ถ้ายุ่งยากซับซ้อนให้กระร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ข้อ 5 กระทำการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
5.2การสอน แนะนำ วางแผนการดูแลต่อเนื่อง เสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลตนเองของประชาชน
5.3การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพการป้องกัน การควบคุม การแก้ปัญหาความเจ็บป่วย
5.4การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
การติดตามผลรวมทั้งการประสานทีมสุขภาพ
5.5การให้การพยาบาลที่บ้านและการส่งเสริมความสามารภของบุคคล ครอบครัว ชุมชน
5.1การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล ตรวจประเมินภาวะสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและการบาดเจ็บ คงบคุมการแพร่โรค ปฐมพยาบาล บำบัดโรค ฟื้นฟูสุขภาพ ที่ทั่วไปและยุ่งยาก
ข้อ 8 จะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะการให้ยาทางปากและยาภายนอก ซึ่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษาหรือเมื่อการปฐมพยาบาลและห้ามใช้ยาในชนิดและช่องทางตามที่สภาการพยาบาลตามข้อ 6.1 และ 6.2
ส่วนที่ 2 การทำหัตถการ(ข้อ9)
ผู้ประกอบการวิชาชีพพยาบาลชั้นหนึ่งกระทำการพยาบาลโดยการทำหัตถการตามขอบเขตที่กำหนด
9.14การดาม การใส่เฝือกชั่วคราว
9.13การสวนทวานหนัก
9.15คัดกรองมะเร็งเต้านม
9.12การสวนปัสสาวะ
จมูก9.8การเปิดทางเดินหายใจ
9.10การเช็ดตา ล้างตา หยอดตา ป้ายตา ปิดตา ล้าง
9.9การช่วยฟื้นคืนชีพเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤต
9.4การให้ออกซิเจน
9.5การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในผู้ป่วยวิกฤต ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะช็อค การปฐมพยาบาลตามปผนรักษาของผูเประกอบวิชาชีพเวชกรรม
9.3ถอดเล็บ การจี้หูดหรือจี้ตาปลา ใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง ฉีดยาชาเฉพาะที่
9.6การให้ยาทางปาก ผิวหนัง หลอดเลือดดำ
ตามแผนของการรักษา
9.2ผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอม ผ่าฝี ผ่าตัดตาปลา การเลาะก้อนใต้ผัวหนังใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง
หรือฉีดยาชาเฉพาะ
9.7การให้เลือด ตามแผนการรักษา
9.16เจาะเลือดตัวอย่าง
9.11การสอดใส่สายยางลงไปในกระเพาะอาหาร
9.17หัตถการอื่นๆ
9.1การทำแผลตกแต่งแผลเย็บแผลลึกไม่เกินชั้นเนื้อเยื่อไขมันใตเผิวนัง แลไม่อยู่ในตำแหน่งเป็นอันตรายใช้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่หรือการตัดไหม ดูแลรักษาบาดแผลไหม้แผลน้ำร้อนลวกไม่เกินระดับ 2 ของแผลไหม้
หมวดที่ 3 การรักษาโรคเบื้องต้น(ข้อ10-15)
ข้อ 13 จำเป็นต้องใช้ยาให้ใช้ยาตามคู่มือการใช้ยา
ข้อ 12 ทำการรักษาโรคเบื้องต้นตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรคเบื้องต้น
12.1ตรวจวินิจฉันและบำบัดโรค
12.2ให้ส่งผู้ป่วยไปรับการบำบัดรักษา
ข้อ 14 ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 11 อบรมตามหลักสูตร
11.1 สาขาเฉพาะทาง
11.2 ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตร
11.3 ข้อ11.1และข้อ11.2นอกจากข้อ 9 และ10 ได้แล้วสามารถทำการพยาบาล การรักษาโรค
ข้อ 15 มีการบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติผู้ป่วย
ข้อ10ให้กระทำการประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรค
10.11 ท้องเดิน 10.12 อาเจียน 10.13 การอักเสบ
10.14 โลหิตจาง 10.15 ดีซาน 10.16 โรคขดสารอาหาร 10.17 อาหารเป็นพิษ 10.18 พยาธิลำไส้
10.19 โรคบิด 10.20 ไข้หวัด
10.21 โรคหัด 10.22 โรคสุกใส 10.23 โรคคางทูม
10.24 โรคไอกรน 10.25 โรคผิวหังเหน็บชา 10.26 ปวดฟัน 10.27 เหงือกอักเสบ 10.28เจ็บตา
10.29 เจ็บหู 10.30โรคติดต่อ
10.1 ไข้ตัวร้อน 10.2 ไข้และมีผื่นหรือจุด
10.3 ไข้จับสั่น 10.4ไอ 10.5 ปวดหัว 10.6 ปวดเมื่อย
10.7 ปวดหลัง 10.8 ปวดเอว 10.9 ปวดท้อง
10.10 ท้องผูก
10.31 ภาวะเเท้ 10.32 การให้ภูมิคถ้มกันโรคแก่บุคคล 10.33 ความเจ็บป่วยอื่นๆ
หมวดที่ 4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่ 1 การพยาบาลก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
ข้อ 16 เมื่อต้องการมีบุตรก่อนการตั้งครรภ์ ระยะครรภ์
16.3การรับฝากครรภ์
16.3.6ให้ยาเสริมธาตุเหล็กและโฟเลต
16.3.7การให้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก
16.3.3การประเมิน ประวัติทางสูติกรรม
16.3.4การตรวจร่างกายทั่วไป
16.3.2การประเมินคสามเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน
16.3.1 การประเมินด้านจิตใจของหญิงมีครรภ์ การสอน
16.3.5การตรวจครรภ์และทารกในครรภ์
ข้อ 17 แนะนำและส่งต่อหญิงมีครรภ์ได้รับ
การตรวจและรักษา
ข้อ 18 ส่งต่อหญิงมีครรภ์
ส่วนที่ 3 การพยาบาลมารดาและทารก ระยะหลังคลอด
ข้อ 28 ประเมินสัญญาณชีพ ความผิดปกติหรือความพิการ
ข้อ 29 บันทึกรายการประวัติของหญิงตั้งครรภ์
ข้อ 27 จะต้องใช้ยาทำลายป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตาหรือป้ายตาทารกแรกเกิด
ข้อ 30 ชั้นสอง ให้กระทำการพยาบาลระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด การพยาบาลหลังคลอด
ข้อ 26 ให้การพยาบาลกับมารดาหลังคลอดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะการตกเลือด
ส่วนที่ 2 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ 19 กระทำการผดุงครรภ์ได้เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์ปกติ
ข้อ 20 ให้การผดุงครรภ์หญิงมีครรภ์
20.1 การประเมินผู้หญิงมีครรภ์
20.1.2ตรวจทางหน้าท้อง
20.2การตรวจประเมินทารก
20.2.2ประมาณน้ำหนักทารก
20.2.3ส่วนนำและท่าทารก
20.2.1การตรวจการเต้นของหัวใจ
20.3ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
20.1.1ประเมินประวัติการตั้งครรภ์และประวัติการเจ็บป่วย
ข้อ 21 การพยาบาล ระยะคลอด
21.1การชักนำการคลอด
21.2การทำคลอดในรายปกติ
21.3ทำคลอดรกและเยื่อหุ้มทารก
21.4การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ
21.5การเสียเลือด
21.6การประเมินสัญญาณชีพ
ข้อ 22 การช่วยเหลือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทำคลอด
ข้อ 23 กระทำการที่เกี่ยวกับการคลอด
23.3การล้วงรก
23.4การกลับท่าของทารก
23.2การทำคลอดที่มีความผิดปกติ
23.5ใช้มือกดท้องในขณะช่วยทำคลอด
23.1เจาะน้ำคร่ำ
23.6ซ่อมฝีเย็บขาดระดับ 3
23.7ทำแท้ง
ข้อ 24 การช่วยทำคลอดฉุกเฉินในรายการที่มีการคลอดผิดปกติที่ไม่สามารถตรวจพบก่อนการทำคลอด
ข้อ 25 ที่มีการตกเลือดหลังคลอดปล่อยทิ้งไว้ให้รักษาตามอาการตกเลือดเบื้องต้น
ส่วนที่ 4 การวางแผนครอบครัวและการคัดกรองมารดาทารก
ข้อ 32คัดกรองมารดาทารก
32.1 การทำ Pap smear
32.2ประเมินสุขภาพ ความผิดปกติความพิการ
ข้อ 33 การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือใช้อุปกรณ์
33.2ถุงยางอนามัย
33.3วงแหวนคุมกำเนิด
33.1ยาเม็ดคุมกำเนิด
33.4แผ่นแปะคุมกำเนิด
ข้อ 31สามารถทำการพยาบาลและการวางแผนครอบครัว
31.2บริการวางแผนแบบใช้ยาหรืออุปกรณ์
31.2.4วงแหวนคุมกำเนิด
31.2.5แผ่นแปะคุมกำเนิด
31.2.3ถุงยางอนามัย
31.2.6การฝังและถอดยาคุมกำเนิด
31.2.2ยาฉีดคุมกำเนิด
31.2.7อื่นๆ
31.2.1ยาคุมกำเนิด
31.1ให้คำปรึกษากับคู่สมรส
ส่วนที่ 5 การสร้างภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารก และเด็ก
ข้อ 34 ชั้นหนึ่ง ปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 35 ชั้นสอง ให้คำแนะนำเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค