Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดเเละเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพ…
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดเเละเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2564
หมวดที่ 1 บททั่วไป(ข้อ 4)
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยวิกฤต
การรักษาโรคเบื้องต้น
การให้ภูมิคุ้มกัน
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพพยาบาล
ส่วนที่ 1 การพยาบาล (ข้อ5-8)
ข้อ 7 ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นสอง
ให้การพยาบาลที่ไม่ยุุ่งยากซับซ้อน ตามเเผนการพยาบาล ถ้าเป็นการเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรือวิกฤตให้ทำร่วมกับ ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นหนึ่ง
ข้อที่ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นหนึ่ง ให้ยา
6.1 ห้ามให้ยา หรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง หรือสายสวนทาหลอดเลือดดำส่วนกลาง
6.2 ห้ามให้ยา หรือสารละลาย หรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสีวินิจฉัย เเละยาอื่น ๆ
ข้อ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นสอง
ให้ยาได้เฉพาะการให้ยาทางปากเเละยาภายนอก
ข้อที่ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นหนึ่ง
5.1 การกระทำต่อร่างกายเเละจิตใจของบุคคล
5.2 การสอน การเเนะนำ การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพ
5.3 การจัดสภาพเเวดล้อมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุม แก้ไขปัญหา
5.4 การปฏิบัติการพยาบาลตามเเผนการพยาบาล รวมทั้งการประสานกับทีมสุขภาพ
5.5 การให้การพยาบาลที่บ้านเเละการส่งเสริมความสามารถ ให้ใช้ชีวิตปกติ
ส่วนที่ 2 การทำหัตถการ (ข้อ 9)
ข้อ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นหนึ่ง
9.1 การทำเเผล การตกเเต่งบาดเเผล การเย็บแผลลึกไม่เกินชั้นเนื้อเยื่อไขมันใต้ผิวหนัง
9.2 การผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอม การผ่าฝี การเลาะก้อนใต้ผิวหนัง
9.3 การถอดเล็บ โดยใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง หรือฉีดยาชาเฉพาะที่
9.4 การให้ออกซิเจน
9.5การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
9.6 การให้ยาทางปาก ทางผิวหนัง ทางหลอดเลือดดำ
9.7 การให้เลือด
9.10 การเช็ดตา ล้างตา
9.9 CPR
9.12 การสวน,หรือเปลี่ยนสายสวนปัสสาวะ
9.15 การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
9.17 หัตถกรรมอื่นๆ
9.14 การดาม หรือใส่เฝือก
9.11 การสอดใส่สายยางลงไปในกระเพาะอาหาร
9.16 การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดส่วนปลายนิ้ว
9.8 การเปิดทางเดินหายใจให้โล่งด้วยการดูดเสมหะ การเคาะปอด
9.13 การสวนทางทาวรหนัก
หมวดที่ 3 การรักษาโรคเบื้องต้นเเละการให้ภูมิคุ้มกัน (ข้อ 10-15)
ข้อ 11 ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นหนึ่ง ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
11.1 สาขาที่ศึกษาเฉพาะทาง
11.2 ผู้ผ่านอบรมหลักสูตร และได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
ข้อ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นหนึ่ง และผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล การผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่งต้องกระทำการรักษาโรคเบื้องต้น ตามข้อกำหนดของสภาพยาบาลในการรักษา
ข้อ 13ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นหนึ่งถ้าจำเป็นต้องให้ยาตามคู่มือการใช้ยาที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
ข้อ 14ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นหนึ่ง ในการให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติตามเเนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ 10 ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลชั้นหนึ่งให้กระทำการประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกไหนดของสภาการพยาบาลการรักษาโรค
ข้อ 15 ต้องบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วย ตามความเป็นจริง
หมวดที่ 4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่ 1 การพยาบาลก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
ข้อที่ 16
16.1 ตรวจประเมินภาวะสุขภาพของหญิงชาย เพื่อวางเเผนการมีบุตร
16.2 การตรวจประเมินภาวะการตั้งครรภ์ด้วยเวชภัณฑ์ทดสอบการตั้งครรภ์
16.3 การรับฝากครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์
ประเมินความเจ็บป่วยในอดีตเเละปัจจุบัน ที่อาจส่งผลกระทบกับการตั้งครรภ์
ประเมินผลการตั้งครรภ์ของเเต่ละครั้ง
การตรวจร่างกายทั่วไปและการประเมินภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์
ตรวจครรภ์เเละทารกในครรภ์
ให้ยาเสริมธาตุเหล็กเเละโฟเลตเเก่หญิงตั้งครรภ์
ให้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก และวัคซีนอื่นตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศ
ข้อที่ 17
แนะนำและส่งต่อหญิงมีครรภ์ให้ได้รับการตรวจและการรักษากับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ข้อที่ 18
ส่งต่อหญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยง หรือครรภ์เป็นพิษ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ส่วนที่ 2 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ 19ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งทำการผดุงครรภ์ได้เเต่เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์ปกติ
ข้อ 20ประกอบวิชาชีพพยาบาลผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ให้การผดุงครรภ์หญิงมีครรภ์ ระยะคลอด ดังนี้
20.1 การประเมินหญิงตั้งครรภ์
ประเมินประวัติตั้งครรภ์ และประวัติอื่นๆ
20.2 การตรวจประเมินทารกในครรภ์
20.3 การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ข้อ 21การพยาบาลระยะคลอด
21.1 พยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่
21.2 ทำคลอดในระยะปกติ เตรียมทำคลอดเมื่อปากมดลูกเปิด
21.3 ทำคลอดรก
21.4 การเย็บซ่อมเเซมฝีเย็บ ฉีกขาดไม่เกินระดับ2
21.5 การประเมินการเสีย
21.6การประเมินสัญญาณชีพ
ข้อ 22การช่วยเหลือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทำคลอดในรายที่มีการคลอดผิดปกติ
ข้อ23 ห้ามผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง กระทำเกี่ยวกับการคลอด ดังนี้
ข้อ 24ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง จะกระทำการช่วยคลอดฉุกเฉินในรายที่มีการคลอดผิดปกติที่ไม่สามารถตรวจพบก่อนการทำคลอด
ข้อ 25 ในรายที่มีการตกเลือดต้องส่งต่อทันที
ส่วนที่ 4 การวางเเผนครอบครัวเเละการคัดกรองมารดาทารก
ข้อ 31 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง วางเเผนครอบครัว ดังนี้
31.1ให้คำปรึกษากับคู่สมรส แบบวิธีธรรมชาติ/การคุมกำเนิด
31.2 บริหารวางเเผนครอบครัวแบบใช้ยาหรืออุปกรณ์
ข้อ 32 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง สามารถทำการคัดกรองทารก
32.1 การทำPap smear
32.2 การประเมินภาวะสุขภาพ ความผิดปกติเเละความพิการของทารก
ข้อ 33 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง การวางเเผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือใช้อุปกรณ์
ส่วนที่ 3 การพยาบาลมารดาเเละทารก ระยะหลังคลอด
ข้อ 26 ผู้ประะกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ให้การพยาบาลหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
ข้อ 27 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดึงครรภ์ชั้นหนึ่ง จะต้องใช้ยาทำลายเเละป้องกันการติดเสื้อสำหรับหยอดตา
ข้อ 28 ให้มารดาได้สัมผัสโอบกอดทารกเเละเริ่มให้ดูดนมจากมารดาภายในชั่วโมงเเรกหลังคลอด
ข้อ 29 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง บันทึกรายงานเป็นหลักฐานเป็นเวลา 5 ปี
ข้อ 30 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดึงครรภ์ชั้นหนึ่ง ห้ามไม่ให้กระทำในกรณีเป็นปัญหายุ่งยาก หรือตรวจพบความผิดปกติ
ส่วนที่ 5 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารก เเละเด็ก
ข้อ 34 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ต้องปฏิบัติตามเเนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธาณสุขประกาศกำหนด
ข้อ 35 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ให้คำเเนะนำเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคเเละติดตามให้มารับภูมิคุ้มโรค
23.1 เจาะน้ำคร่ำ
23.2 การทำคลอดที่มีความผิดปกติ
23.3 การล้วงรก
23.4การกลับท่าของทารก
23.5 การช้มือกดท้องในขณะช่วยทำคลอด
23.6 การเย็บซ่อมฝีเย็มที่มีการฉีกขาดระดับ 3
23.7 การทำเเท้ง