Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การค้าส่งและการค้าปลีก - Coggle Diagram
บทที่ 4 การค้าส่งและการค้าปลีก
การค้าส่ง (Wholesaling)
หมายถึง กิจกรรมทั้งหมดเกี่ยวกับการขายสินค้าหรือบริการจำนวนมาก ๆ ให้กับร้านค้าปลีกเพื่อการขายต่อ เพื่อใช้ในการผลิตสินค้าอื่น เพื่อให้บริการหรือเพื่อใช้ในการดำเนินงานขององค์การ
ลักษณะของธุรกิจค้าส่ง
ผู้ค้าส่งทำหน้าที่ซื้อและขาย
กิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการขายสินค้า
ให้กับองค์กร สถาบัน หรือหน่วยงานต่าง ๆ
ผู้ค้าส่งขายสินค้าและบริการ โดยมุ่งหวังกำไร
หน้าที่ของผู้ค้าส่ง (Wholesaler function)
หน้าที่ของผู้ค้าส่งที่มีต่อผู้ผลิต
เก็บรักษาสินค้าให้กับผู้ผลิต
ช่วยเหลือด้านการเงิน
ขายสินค้าให้กับผู้ผลิต
ช่วยลดความเสี่ยงภัยจากการขายเชื่อ
ช่วยหาข้อมูลการตลาด
หน้าที่ของผู้ค้าส่งที่มีต่อผู้ซื้อ
จัดส่งสินค้า
ช่วยเหลือด้านการเงิน
เก็บรักษาสินค้า
ช่วยลดความเสี่ยง
แบ่งขายสินค้า
ให้ข้อมูลและให้คำแนะนำต่าง ๆ
จัดหาจัดซื้อสินค้าหลากหลาย
ประเภทของการค้าส่ง
ธุรกิจค้าส่งที่ผู้ผลิตทำเอง ( Wholesaler owned by product)
ผู้ค้าส่งที่เป็นพ่อค้า ( Merchant wholesaler)
ผู้ค้าส่งที่เป็นพ่อค้าให้บริการเต็มที่ (Full services wholesaler)
ผู้ค้าส่งที่ทำหน้าที่จำกัด (Limited function wholesaler)
ตัวแทนและนายหน้า (Agent and Borker)
แนวโน้มของการค้าส่ง
ผู้ค้าปลีกขนาดเล็กและขนาดใหญ่ได้นำระบบการค้าแบบลูกโซ่และระบบสิทธิ์ทางการค้ามาใช้มากขึ้น
ผู้ค้าส่งขายสินค้าของผู้ผลิตหลายรายไม่มีเวลาที่จะช่วยส่งเสริมสายผลิตภัณฑ์ของผู้ผลิต
ผู้ผลิตมีขนาดใหญ่ขึ้นและมีแนวโน้มจะจำหน่ายเอง
ผู้ค้าส่งควรปรับปรุงด้านบริการให้สอดคล้องกับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาของลูกค้าในตลาดเป้าหมายดังนี้
การตลาดส่วนเล็ก (Nick marketing)
การตลาดแบบมุ่งหลายส่วนตลาด (Multiple marketing)
การให้บริการที่สร้างมูลค่าเพิ่ม (Value added services)
เทคโนโลยีการจัดจำหน่ายใหม่ (New distribution)
การรวมตัวกันในแนวดิ่ง (Vertical integration)
การค้าปลีก (Retailing)
หมายถึง กิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวกับการขายสินค้า และบริการให้ผู้บริโภคคนสุดท้าย เพื่อการใช้ส่วนตัวที่ไม่มีการใช้เพื่อธุรกิจ
ลักษณะของธุรกิจค้าปลีก
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขายสินค้าและบริการให้กับผู้บริโภคคนสุดท้าย
ผู้บริโภคคนสุดท้ายที่ซื้อสินค้าเพื่อใช้ส่วนตัวที่ไม่ใช่การใช้เพื่อธุรกิจ
หน้าที่ของผู้ค้าปลีก
หน้าที่ของผู้ค้าปลีกที่มีต่อผู้ค้าส่ง
เก็บรักษาสินค้าแทนผู้ค้าส่ง (Store Inventory)
ช่วยลดความเสี่ยงภัยจากการขายเชื่อ (Reduce Credit Rise)
ขายสินค้าให้ผู้บริโภค (Selling)
ช่วยรวบรวมข้อมูลทางการตลาด ( Marketing Information)
หน้าที่ของผู้ค้าปลีกที่มีต่อผู้บริโภค
ช่วยเหลือทางด้านการเงิน (Finance)
ช่วยลดความเสี่ยง (Risk)
เก็บรักษาสินค้า (Store Inventory)
ให้บริการแก่ผู้บริโภค (Customer Service)
แบ่งขายสินค้า (Bulk Breaking)
จัดหาจัดซื้อสินค้าที่หลากหลาย (Buying Variety Product)
ให้ข้อมูลและคำแนะนำต่าง ๆ(Provide Information and Advisory)
ประเภทของร้านค้าปลีก (Type of retailer)
ร้านค้าปลีกตามลักษณะการเป็นเจ้าของ ( By ownership)
ร้านค้าปลีกตามลักษณะการดำเนินงาน (By operation method)
ร้านค้าปลีกตามลักษณะผลิตภัณฑ์ (By product line)
ร้านค้าปลีกแบบไม่มีร้าน (Non store retailing)
แนวโนม้ของการค้าปลีก
ปลีกมีการเปลี่ยนแปลงให้อยู่ในรูปการจอดรถครั้งเดียวสามารถซื้อของได้ครบ (Changing definition of one stop shopping)
การขยายตัวของระบบการให้สิทธิ (Franchise)
การเพิ่มขึ้นของธุรกิจการค้าปลีก (Polarity of retailing)
ร้านค้าปลีกใช้ระบบสมาชิก (Membership) และการบริการชำระเงินผ่อน (Credit cards) มากขึ้น
ร้านค้าปลีกแบบ Chain store มากขึ้น
ร้านค้าปลีกเพิ่มความสำคัญในเทคโนโลยีใหม่ ๆ (New technology)
การเพิ่มขึ้นของการค้าปลีกแบบไม่มีร้าน (Non store retailing)
ร้านค้าปลีกให้บริการชำระเงินผ่านบัตรเครดิต (Credit Card)
รูปแบบการค้าปลีกใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น (New retail form)
ร้านค้าปลีกนำระบบ ECR (Efficient Customer Response) มาใช้
การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationship)
การตอบสนองลูกค้าอย่างรวดเร็ว (Quick Response)
ร้านค้าปลีกวางตำแหน่งการเสนอบริการ
ให้บริการจำกัด (Limited service)
ให้บริการเต็มที่ (Full service)
บริการตัวเอง ( Self service)
การเลือกทำเลและที่ตั้งร้านค้าปลีก
ทำเลการค้า(Location)
หมายถึง เขตภูมิศาสตร์ ภาค จังหวัด หรือเมือง หรือเขตการค้าที่ร้านค้าจะไปตั้ง (พิจารณาในลักษณะที่กว้าง (Macro)
ที่ตั้ง (Site)
หมายถึง ตำแหน่งที่เฉพาะเจาะจงของทึ่ตั้งร้านค้าตั้งอยู้อาคารเลขที่ ถนนใด ภายในทำเลการค้าหรือเขตการค้า (พิจารณาในลักษณะที่กว้าง (Micro)
ความสำคัญของทำเลการค้า
ผลตอบแทนจาการลงทุน (Retune on investment)
ระยะเวลาคืนทุน (Payback period)
การสร้างผลกำไร (The need of profit)
เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ลูกค้า(Convenience to consumers)
องค์ประกอบในการตัดสินใจเลือกทำเลการค้าหรือเขตการค้า
อำนาจซื้อของประชากร
ลักษณะการกระจายรายได้ของประชากร
คุณสมบัติของประชากร
แนวโน้มความเจริญเติบโตของทำเลการค้า
ความหนาแน่นของประชากร
ลักษณะและความเข้มข้นในการแข่งขัน
หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกศูนย์การค้า
ตัวดึงดูดของศูนย์การค้า
การบริหารอสังหาริมทรัพย์
เจ้าของโครงการและทีมบริหาร
การควบคุมการใช้ประโยชน์
ทำเลการค้าของศูนย์การค้า (Location)
องค์ประกอบในการตัดสินใจเลือกที่ตั้งร้านค้าปลีก
การสัญจรไปมาของลูกค้า
ลักษณะสภาพแวดล้อม
ความสัมพันธ์กับร้านค้าอื่นและคู่แข่งขัน
การพิจารณาค่าใช้จ่ายในการซื้อหรือเช่า
ความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของสินค้าและพฤติกรรมในการซื้อ
การประเมินการขายเพื่อเปรียบเทียบกับการเช่า
แนวคิดของธุรกิจ
การพิจารณาจากฮวงจุ่ย