Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์(lntra Uterine Growth Restriction : IUGR) -…
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์(lntra Uterine Growth Restriction : IUGR)
พยาธิกำเนิด
การไหลเวียนระหว่ามารดาและทารกในครรภ์เพือขนส่งออกซิเจนและสารอาหารจากมารดาสู่ทารก เพื่อเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย ทารกเกิดความบกพร่อง ทำให้เกิดภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์
สาเหตุ
ปัจจัยทางมารดา Maternal causes
การติดเชื้อในมารดา
มารดามีรูปร่างเล็ก
น้ำหนักมารดาไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
โรคของมารดา
สารเสพติด
ปัจจัยทางทางทารก Fetal causes
ทารกไร้กระโหลกศีรษะ (anencephalus)
ผนังหน้าท้องไม่ปิด (gastroschisis)
ภาวะไม่มีไตตั้งแต่กำเนิด(renal agenesis)
แฝด
ติดเชื้อ
ความผิดปกติทางรก Placental causes
ความผิดปกติของรก
รกขนาดเล็ก+น้ำหนักน้อยกว่าปกติ
+มีการทำงานผิดปกติของ Terminal villi
เกิดจากเลือดไปเลี้ยง intervillus space น้อย สารอาหารและออกซิเจน ไปเลี้ยงทารกน้อยลงเกิดUIGR
ผิดปกติทางโครงสร้าง
circumvallate placenta
placenta previa
chorioangioma
การรักษา
Ultrasound ทุก 2-3 สัปดาห์ เพื่อติดตามการเจริญเติบโตของทารก
รับไว้ในโรงพยาบาล
การตรวจวินิจฉัยตั้งแต่เริ่มแรก
กำหนดการคลอดในเวลาที่เหมาะสม
ตรวจ NST สัปดาห์ละ 2 ครั้ง เพื่อประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
การพยาบาล
1.เพื่อป้องกันการเกิดภาวะIUG
ซักประวัติ ตรวจประเมินร่างกาย(HF:GA) ตรวจU/S วัดปริมาณน้ำคร่ำ,NST,BPP
ให้คำแนะนำ
แนะนำมาฝากครรภ์ตามนัด
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
งดบุหรี่และสารเสพติด
2.เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะIUGR
2.2ระยะคลอด
2.2.1 แนะนำการนอนพักบนเตียง ในท่านอนตะแคงซ้าย เพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดมาเลี้ยงมดลูกได้ดีมากขึ้น
2.2.2 ติดตามประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
2.2.3 ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และเสียงหัวใจทารกทุก 1/2-1ชั่วโมง
2.2.4กรณีที่มีการแตกของถุงน้ำคร่ำ ให้สังเกตุการณ์มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
2.2.5หากพบว่ามี meconium ในน้ำคร่ำ หรือเสียงหัวใจทารกผิดปกติควรแก้ไข โดยให้ ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย ดูแลให้ได้รับ 02 ปรับแพิ่มอัตราการหยดสารละลายเข้าทางเส้นเลือดดำ และรายงานแพทย์
2.2.6 หลีกเลี่ยงการให้ยาบรรเทาปวด เนื่องจากยาจะกดการหายใจของทารกได้
2.2.7หากมีความจำเป็นต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด หรือผ่าตัดคลอดทารกทางช่องท้อง ควรเตรียมผู้คลอดให้พร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
2.2.8รายงานกุมารแพทย์ และเตรียมอุปกรณ์ในการฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิดไว้ให้พร้อม เพื่อการช่วยเหลือทารกแรกเกิดได้ทันที
2.3ระยะหลังคลอด
2.3.1 ควบคุมอุณหภูมิ เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน
2.3.2 ตรวจร่างกายหาความพิการ
2.3.3 สร้างเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารก
2.3.4 น้นให้มารดาเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
2.3.5 อธิบายให้มารดาเข้าใจถึงแผนการรักษา
2.1ระยะตั้งครรภ์
2.1อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับทารกเจริญเติบ โตช้าในครรภ์ แผนการรักษาและเปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย เพื่อให้สตรีมีครรภ์เข้าใจและให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
2.1.2 พักผ่อนให้เพียงพอ โดยนอนตะแคงซ้ายเพื่อเพิ่มปริมาณเลือดไปเลี้ยงมดลูก
2.1.3 แนะนำการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เพิ่มโปรตีน
2.1.4สังเกตการดิ้นของทารกในครรภ์ หากดิ้น <10ครั้ง/วัน ควรรีบมาพบแพทย์
2.1.5ติดตามระดับของยอดมดลูกและการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวของสตรีมีครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
เพิ่มอัตราการผ่าคลอด
เพิ่มภาระในการเลี้ยงดู
ผลกระทบต่อทารก
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
mecronium aspiration syndrome
polycythemia
hypocalcemia
hypoglycemia
hyperbilirubinemia
การประเมินและการวินิจฉัย
ตรวจพิเศษ
การวัด HC/AC ratio มากกว่า +2SD ที่อายุครรภ์นั้นๆ พบเป็น asymetrical
การวัด FL/AC ratio ได้มากกว่า 24% แปลว่าอยู่ในภาวะ asymmetrical
วัด AC ได้ค่าน้อยกว่า -2SD ของค่า AC ที่อายุครรภ์นั้นๆ
การตรวจดูระดับการเสื่อมของรก หากพบว่ารกอยู่เกรดในระยะต้นไตรมาสที่ 3 อาจเกิดภาวะ IUGR
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ขนาดมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์3เซนติเมตรขึ้นไป
น้ำหนักมารดาไม่เพิ่ม
การแบ่งชนิด
Asymmetrical IUGR
เจริญเติบโตไม่สมสัดส่วน
AC
เส้นรอบท้องต่ำกว่าเกณฑ์
ฺBPD
ความกว้างศีรษะปกติ
HC
เส้นรอบศีรษะปกติ
สาเหตุความผิดปกติ
การไหลเวียนโลหิตในมดลูกและรกผิดปกติ (Uteroplacenta insufficiency)
Symmetrical IUGR
สาเหตุความผิดปกติ
ได้รับสารTeratogen
ความผิดปกติของโครโมโซม
ติดเชื้อ
เจริญเติบโตช้าสมสัดส่วน
HC
เส้นรอบวงศีรษะต่ำกว่าเกณฑ์
BPD
ความกว้างศีรษะต่ำกว่าเกณฑ์
AC
เส้นรอบท้องต่ำกว่าเกณฑ์
FL
ความยาวกระดูกต้นขาต่ำกว่าเกณฑ์
Combined type IUGR