Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของสมอง และไขสันหลัง - Coggle Diagram
ความผิดปกติของสมอง และไขสันหลัง
การบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injuries)
ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ
ไขสันหลัง ->ASIA
ระดับA อัมพาตอย่างสมบูรณ์ไม่มีการเคลื่อนไหวและความรู้สึก
ระดับB มีความรู้สึกในระดับ S4-5แต่เคลื่อนไหวไม่ได้เลย
ระดับC ความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออยู่ต่ำกว่าระดับ3
ระดับD ความแข็งแรงของกล้ามนื้อตั้งแต่ระดับ3ขึ้นไป
ระดับE การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อปกติ
การประเมินการบาดเจ็บไขสันหลัง
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย ใช้หลัก ABCDE
การตรวจทางรังสีวิทยา
Plain film
Computed tomography scan (CT)
Magnetic resonance imagine (MRI)
ประเภทของการบาดเจ็บไขสันหลัง
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์(Complete cord injury)
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์(Incomplete spinal cord injury)
Neurogenic shock
อาการสำคัญ
Hypotension
Bradycardia
Hypothermia
การพยาบาล
ให้สารน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อให้ systolic blood pressure>90mmHg. ให้สารน้ำ 50-100 cc/hr.
ระวังอย่าให้สารน้ำมากเพราะจะทำให้ไขสันหลังบวมและปอดบวมน้ำจากภาวะน้ำเกิน
ติดตามค่า hemoglobinและhematocrit
บันทึกจำนวนปัสสาวะ
บันทึกสัญญาณชีพ monitor EKG ในรายที่มี hypotention ให้ยาDopamine,Dobutamine
กลไกการบาดเจ็บไขสันหลัง
การบาดเจ็บแบบงอ (Flexion injury)
การบาดเจ็บท่าแหงนคอมากกว่าปกติ (Hyperextension injury)
การบาดเจ็บท่างอ และหมุน(Flexion with rotation injury)
การบาดเจ็บแบบยุบจากแรงอัด(Compression injury)
การบาดเจ็บแบบ Penetrating injury
Spinal shock
อาการสำคัญ
อวัยวะที่อยู่ต่ำกว่าระดับไขสันหลังได้ รับบาดเจ็บจะเจ็บอัมพาตแบบอ่อน
ปวกเปียก
Hypotention
ไม่มีรีเฟล็กซ์โดยเฉพาะbulbocarvernous reflex
ผิวหนังเย็นและแห้ง
อวัยวะเพศชายขยายตัว (priaprism)
คัดจมูกเนื่องจากหลอดเลือดในโพรงจมูกขยายตัว
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การบาดเจ็บ(Trauma)
อุบัติเหตุรถยนต์/จักรยานยนต์
โดนยิง/ถูกแทง
ตกจากที่สูง
การเล่นกีฬา
ความผิดปกติที่ไม่ได้เกิดจากการบาดเจ็บ (Non-traumatic
disorders)
การเสื่อมของกระดูกสันหลัง
การอักเสบของเยื่อหุ้มไขสันหลัง
โรคกระดูกพรุน
เนื้องอก
โรคของหลอดเลือด
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
(Increased intracranial pressure: IICP)
Assessment
การตรวจร่างกาย
ประเมินระดับความรู้สึกตัว(LOC)
Glasgow Coma Scale (GCS)
Vital signs->Cushing’s triad
Pupil reaction,size,conjugate
การซักประวัติ
การบาดเจ็บ
เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วย
การพยาบาลที่สำคัญ
ให้ออกซิเจน
ดูแล Temp.
IV fluid ประเมิน intake&output
ดูแลให้ได้รับยา
หลีกเลี่ยงิ่งที่จะทำให้เพิ่มความดันในช่องอก
การมีลมหรือเลือดในช่องท้อง
หลอดลมตีบแคบ
ท่อช่วยหายใจพับงอ
การใช้PEEPมากเกินไป
จัดท่าศีรษะสูง30องศาไม่บิดมากเกินหรือก้มมากไป
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ
อาเจียนพุ่ง
ตามัว เห็นภาพซ้อน
ระดับความรู้สึกตัวลดลง Glasgow coma score
มีไข้สูง
Cushing’s triad
Cheyene-Strokes respiration
Widened pulse pressure>60mmHg.
Pupil เปลี่ยน ตอบสนองต่อแสงผิดปกติ
ตาพร่ามัว และเส้นประสาทตาบวม ตรวจพบ papilledemaได้นั้น ต้องมีIICPมาแล้ว 24-48ชม.
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง มีการอุดตัน/ระบายมากเกินไป
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง พบบ่อยที่สุด มักเกิดจากการปนเปื้อนระหว่างผ่าตัด
การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกินไป
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง/เนื้อสมอง
ไตอักเสบ
Causes of IICP
Increases in blood
Hematoma
Vasodilation
Hypoventilation
Hypercarbia/hypoxia
Venous outflow obstructions
Increases in CSF
CSF pathway obstruction
Increase CSF production
Decrease CSF absorbtion
Increases in brain volume
Head injury
Stroke
Reactive edema
Tumor
Abscess