Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลิลิตตะเลงพ่าย : - Coggle Diagram
ลิลิตตะเลงพ่าย :
คุณค่าทางวรรณคดี
ภาษาไพเราะ
การเล่นคำพ้อง ในลิลิตตะเลงพ่ายมีเล่นทั้งคำพ้องรูปและคำพ้องเสียง
สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา
เพราะเมื่่อมาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา
นึกระกำนามไม้ แม่นแม้น ทรวงเรียม
มีการเล่นคำพ้องเสียงคือคำว่า (สลัด) ไดดับ ใดส่วนคำพ้องรูปคือคำว่าสลัด กับ สละ และนอกจากจะมีคำพ้องเสียงแล้วยังมีคำเล่นพยัญชนะ พ,ส และ ม เข้ามาเสริมอีกด้วย
คำประพันธ์
แต่งด้วยลิลิตสุภาพ ซึ่งประกอบด้วยร่ายสุภาพ โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพ แต่งสลับกันไป จำนวน ๔๓๙ บท
โวหารภาพพจน์
-
-
๓) นามนัย
เช่น ตอนที่พระเจ้ากรุงหงสาวดีตรัสถึงกรุงศรีอยุธยาว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับสมเด็จพระเอกาทศรถอาจจะชิงราชบัลลังก์กัน
-
-
โครงเรื่อง
โครงเรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงนำมาจากประวัติศาสตร์ ซึ่งมีขอบเขตกำหนดเนื้อหาไว้เพียงเรื่องการทำสงครามยุทธหัตถี อต่เมื่อมิให้เนื้อเรื่องแห้งแล้งขาดชีวิตชีวาจึงทรงเพิ่มเติมเรื่องที่ไม่ใช่การทำสงครามเข้าไป เนื้อหาที่สำคัญเป็นหลักของเรื่อง "ตะเลงพ่าย" คือ การดำเนินความตามเค้าเรื่องพงศาวดาร ได้แก่ การทำสงคราม การต่อสู้แบบยุทธหัตถี การจัดทัพ และรายละเอียดต่างๆ ซึ่งเปป็นไปตามตำราพิชัยสงครามและโบราณราชประเพณีทุกอย่าง
สำหรับเนื้อหาที่เป็นส่วนเพิ่มเติม ส่วนเสริมเรื่อง คือบทประพันธ์ที่เป็นลักษณะนิราศ ซึ่งพรรณนาเกี่ยวกับการเดินทางและการคร่ำครวญถึงนางผู้เป็นที่รักโดยผ่านบทบาทของพระมหาอุปราชา