Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความขัดแย้งทางการพยาบาล - Coggle Diagram
การบริหารความขัดแย้งทางการพยาบาล
แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้ง
ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่ควรจะกำจัดทิ้งไป เนื่องจากความขัดแย้งจะทำให้องค์กรเกิดความไม่สามัคคี และทำให้เกิดความไม่มีประสิทธิภาพในการทำงาน
แนวคิดเกี่ยวกับความขัดแย้งแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
แนวคิดด้านมนุษย์สัมพันธ์ เชื่อว่าความขัดแย้งอาจจะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ และหลีกเลี่ยงไม่ได้ภายในทุกองค์การ เนื่องจากไม่สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งได้
แนวคิดสมัยใหม่ เมื่อแนวคิดด้านมนุษย์สัมพันธ์ เชื่อว่าความขัดแย้งมุมมองที่เป็นแนวความคิดสมัยใหม่
แนวคิดสมัยดั้งเดิม เชื่อว่าความขัดแย้งเป็นสิ่งไม่ดี และมีผลกระทบด้านลบต่อองค์อยู่เสมอ
ธรรมชาติของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งอาจจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลหรือกลุ่มแสวงหาทางที่จะควบคุมกิจการหรือ อำนาจซึ่งเป็นสมบัติของคนอื่น
อุปสรรคของการติดต่อสื่อสารหรือการสื่อข้อความ
ความขัดแย้งอาจเกิดขึ้นเมื่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลไม่สามารถที่จะตกลงกันได้
แข่งขันเพื่อแย่งชิงทรัพยากรที่มีจำกัด
การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของงานไม่ชัดเจน
ลักษณะงานที่ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน
สาเหตุที่ทำให้มนุษย์ขัดแย้งกัน
แนวทางปฏิบัติ ผู้ที่มีแนวความคิดเห็นอย่างเดียวกัน ย่อมจะร่วมงานกันได้ แต่แนวทางปฏิบัติย่อมจะแตกต่างกัน
ผลประโยชน์ คือ สิ่งที่ทุกคนต้องการหรือความพอใจของแต่ละคนความขัดแย้งเพราะผลประโยชน์มองเห็นได้ชัดเจนและเกิดขึ้นในชีวิตประจำวันมากที่สุด
ความคิดเห็น ความคิดเห็นที่ตรงกันของบุคคลจะช่วยให้บุคคลคบค้าสมาคมกันได้อย่างราบรื่น
กระบวนการตามแนวคิดของโธมัส (Thomas)
แสดงพฤติกรรมออกมา
เกิดปฏิกิริยาของอีกผ่ายหนึ่ง
เกิดมโทัศนีเี่ยวกับความขัดแย้ง
ผลของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นตามมา
เกิดความคับข้องใจ
ผลเสียของความขัดแย้ง
เกิดการต่อต้านทั้งทางอ้อมและเปิดเผย
ผู้แพ้มักจะหลบหนีสังคม เก็บเนื้อเก็บตัว ตัวผู้ชนะก็จะตีปีกร่าเริง
บรรยากาศของความจริงใจ แล้วความไว้วางใจจะหมดสิ้นไป
ความขัดแย้งที่ได้รับการแก้ไขไม่ถูกต้องอาจทำให้สมาชิกในองค์การเกิดความรู้สึกเครียด
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเสื่อมลงไป
ผลดีของความขัดแย้ง
ช่วยให้มีการปรับปรุงทางเลือกในการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ช่วยให้เกิดการหาข้อพิสูจน์ที่สมเหตุสมผลก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่
ความขัดแย้งมักก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
สมาชิกในองค์การได้รับการกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจ และพบแนวทางในการทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งภายในกลุ่ม
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ความขัดแย้งในองค์การ
ความขัดแย้งระหว่างองค์การ
ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล