Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 26 ปี - Coggle Diagram
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 26 ปี
CC: 3 วันก่อนมารพ. ถ่ายเหลว มีไข้ อ่อนเพลีย
PI: 2 เดือนก่อนมารพ.มีอาการบวมที่หน้าและทั่วตัว ไม่ได้รักษา 1 เดือนก่อนมารพ.ไอมีเสมหะ รู้สึกเหนื่อยเวลาไอไปตรวจที่รพ. แพทย์วินิจฉัยว่าปอดบวม รักษาที่รพ.ใกล้บ้าน 5 วัน อาการทุเลา 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา มีไข้ ถ่ายเหลว มีเนื้อปน 4-5 ครั้งต่อวัน 3 วัน รู้สึกอ่อนเพลีย ทุกวัน จึงมารพ.
Dx. systemic lupus erythematosus (SLE) โรคแพ้ภูมิตัวเอง
พยาธิสภาพของโรค
เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
สับสนระหว่างเซลล์ร่างกายกับสิ่งแปลกปลอม
ภูมิคุ้มกันสร้าง auto-antibody ต่อต้าน self antigen
เกิดสารประกอบเชิงซ้อนจากปฏิกิริยารหว่าง auto-antibody กับ self antigen
ไปเกาะติดตามเนื้อเยื่อต่าง ๆ ทำให้เกิดการอักเสบ
สมอง
immune complex เกาะที่เยื่อหุ้มสมอง
2 more items...
หัวใจ
auto-antibody ทำลาย เซลล์เยื่อหุ้มหัวใจ
2 more items...
ไต
apoptosis cells ในร่างกายบกพร่อง
1 more item...
ปอด
มีเชื้อเข้าสู่ปอด
2 more items...
ข้อต่อ
ร่างกายสร้าง auto-antibody มีผลต่อ Ag
1 more item...
ทางเดินอาการ
ทําให้เกิด bowel infarction
1 more item...
สารเชิงซ้อนจากปฏิกิริยารหว่าง auto-antibody กับ self antigen ไปเกาะผนังลำไส้
เลือด
เม็ดโลหิตแดงแตกจากภูมิต้านทานตนเอง (auto immune hemolytic anemia, AHA)
1 more item...
ข้อวินิฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 9 ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะของโรค
S: ผู้ป่วยบอกว่ากังวลเรื่องโรค
O: ญาติและผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวลเมื่อแพทย์วินิจฉัยเป็น SLE
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ
อธิบายถึงสาเหตุ อาการของโรค รวมทั้งแนวทางการรักษา
สอนผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลตัวเอง
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติซักถามและระบายความในใจ
การประเมินผล : ญาติและผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวลน้อยลง
วัตถุประสงค์ : ลดความวิตกกังวล
เกณฑ์การประเมิน : ญาติและผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวลน้อยลง
ข้อวินิฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 8 วิตกกังวลเกี่ยวกับการเจาะน้ำไขสันหลัง
S: ผู้ป่วยบอกว่ากังวลไม่รู้ว่าต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
O: ผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวลเมื่อทราบว่าต้องเจาะน้ำไขสันหลัง,แพทย์ มีorder ทำ CSF
วัตถุประสงค์ : ลดความวิตกกังวล เข้าใจการเจาะน้ำไขสันหลัง
เกณฑ์การประเมิน : ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลน้อยลง และทราบอธิบายย้อนกลับการปฎิบัติในการเจาะน้ำไขสันหลังได้
บอกวัตถุประสงค์ของการเจาะน้ำไขสันหลัง
อธิบายขั้นตอนการเจาะน้ำไขสันหลัง
บอกการปฎิบัติตัวหลังการเจาะน้ำไขสันหลัง
ให้กำลังใจผู้ป่วย
ถามย้อนกลับการให้คำแนะนำ
การประเมินผล : ผู้ป่วยไม่มีสีหน้าวิตกกังวล และสามารถอธิบายย้อนกลับการปฎิบัติในการเจาะน้ำไขสันหลังได้