Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไทรอยด์ผิดปกติในหญิงตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ไทรอยด์ผิดปกติในหญิงตั้งครรภ์
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมาก(Hyperthyroidism)
สาเหตุ
โรคเกรฟ เป็นโรคที่เกิดจากร่างกายมีภูมิต้านทานตนเอง
โรคพลัมเมอร์
เนื้องอกเป็นพิษ
อาการและอาการแสดง
อัตราการเต้นของหัวใจมากโดยไม่ทราบสาเหตุ
น้ำหนักไม่เพิ่มขึ้นทั้งๆที่กินมาก
ต่อมไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น ลักษณะเป็นคอพอก
หิวบ่อย กินจุ
ตาโปน
สั่น
ขี้ร้อน หงุดหงิด ตกใจง่าย
ประจำเดือนมาน้อย
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อมารดา
รกรอกตัวก่อนกำหนด
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
มีโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูง
ผลกระทบต่อทารก
มีโอกาสเป็นต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
มีโอกาสพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
ทารกเติบโตช้าในครรภ์
แนวทางการรักษา
การผ่าตัด
การใช้สารรังสี
รักษาด้วยยา แนะนำยา PTU กินหลังอาหาร 3 เวลา
การพยาบาล
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้มารดาและญาติทราบเกี่ยวกับโรคที่เป็น แนวทางการรักษา
อธิบายให้มารดาและญาติทราบว่ามารดาอาจมีพฤติกรรมแปลกๆ เช่น มีความรู้สึกไว หงุดหงิด โมโหง่าย จิตใจอ่อนไหว
แนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน พักผ่อน การรับประทานยา การรักษาความสะอาดขิงร่างกาย การป้องกันอุบัติเหตุ การนับการดิ้นของทารก
การพยาบาลระยะคลอด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
ดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อสังเกตุอาการผิดปกติขณะรอคลอด
ตรวจชีพจร การหายใจทุก 10 นาที
จัดท่านอนศรีษะสูงขณะรอคลอด
ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5 นาที
การพยาบาลระยะหลังคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อป้อวฃงกันการตกเลือดหลังคลอด
ให้พักผ่อน ช่วยเหลือกิจกรรม
ดูแลอย่างใกล้ชิด 24 hr แรก
ให้นมบุตรได้หากอาการไม่รุนแรง
ดูแลให้ได้รับยาลดการทำงานของต่อมไทรอยด์
แนะนำเกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว
การประเมินสภาพของทารกแรกเกิด
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย(Hypนthyroidism)
สาเหตุ
มีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์ ซึ่งอาจจะเกิดจากภูมิคุ้มกันตนเองที่ทำลายต่อมไทรอยด์ เช่น ไทรอยด์อักเสบ
ส่วนน้อยที่จะเกิดจากการขาดไอโอดีน
ผลกระทบ
มารดามีโอกาสแท้งบุตร คลอดก่อนกำหนด ทารกตายในครรภ์
ทารกอาจมีความบกพร่องทางสมอง
การพยาบาล
ควรพักผ่อนให้มากขึ้นวันละ 10 hr
รับประทานอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
แนะนำการรับประทานยาอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ แม้ว่าอาการจะดีขึ้นแล้วก็ตาม