Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกตายในครรภ์ (Fetal Death), นายภูมิพัฒน์ เอมโอช เลขที่ 87 รหัสนักศึกษา…
ทารกตายในครรภ์
(Fetal Death)
การตายของทารกก่อนคลอด โดยไม่ค านึงถึงอายุครรภ์แบ่งเป็น
• Intermediate fetal death ตายระหว่าง 20-28 สัปดาห์
• Late fetal death ตายตั้งแต่ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
• Early fetal death ตายก่อน 20 สัปดาห์
• ทารกตายคลอด (Stillbirth) หรือ Death fetus in utero (DFU) หมายถึง ทารกเมื่อคลอดแล้วไม่มีอาการแสดงของการมีชีวิต ได้แก่ ไม่มีการหายใจ ไม่มีการเต้นของหัวใจ ไม่มีการเคลื่อนไหว
สาเหตุ
สาเหตุจากทารกในครรภ์ ร้อยละ 25-40
• ความพิการแต่ก าเนิด เช่น neural tube defect
• ความผิดปกติทางโครโมโซม trisomy 21,18 และ 13
• สาเหตุอื่นๆ เช่น คลอดก่อนก าหนด , birth asphyxia
สาเหตุจากรก ร้อยละ 25-35
• ภาวะรกลอกตัวก่อนก าหนด การติดเชื้อในโพรงมดลูก การเกาะของสายสะดือที่ผิดปกต
• สายสะดือผิดปกติ เช่น knot หรือ entanglement
สาเหตุจากมารดา ร้อยละ 5-10
• โรคทางอายุรกรรม เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
• ภาวะทางสูติกรรม เช่น คลอดก่อนก าหนด การคลอดติดขัด
• อายุมากกว่า 35 ปี
• ภาวะอื่นๆ เช่น ยาหรือสารเสพติด บุหรี่
ไม่ทราบสาเหตุ อีกร้อยละ 15-35
อาการและอาการแสดง
ประวัติ ให้ประวัติว่าเด็กไม่ดิ้น มีเลือดหรือมีน้ำสีน้ำตาลออกทางช่องคลอด น้ำหนักตัวลดลง เต้านมดัดตึงน้อยลง นุ่มและเล็กลง
การตรวจร่างกาย พบระดับมดลูกต่ำกว่าอายุครรภ์และคลำตัวทารกไม่รู้สึกว่าทารกดิ้นมากระทบมือ ฟัง FHS ไม่ได้ตรวจภายใน ในกรณีที่ปากมดลูกเปิดแล้ว คลำศีรษะทารกจะรู้สึกนุ่มและสามารถบีบให้เล็กลงได้ เนื่องจากกระดูกกะโหลกศีรษะเกยกัน
ทารกที่ตายแล้วจะเริ่มมีการเปื่อยยุ่ย แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ใหญ่ ดังนี้
Intermediate maceration การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นหลังจาก 1 วัน จนถึง 7 วัน ดังนี้มีการลอกของผิวหนัง อวัยวะภายในมีสีคล้ำร่วมกับมีสารน้ำสีแดงในเยื่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มปอด และในช่องท้อง จะเริ่มพบหลังจากทารกตายแล้ว 48 ชม. และชัดเจนในวันที่ 5 หลังทารกตาย เอ็นปลายกระดูกจะยุ่ยหลุดออก เมื่อกดศรีษะจะรู้สึกเหมือนมีน้ำขังอยู่ภายใน
Late maceration เป็นการเปลี่ยนแปลงหลังจากทารกตายแล้วนานกว่า 1 สัปดาห์ จะพบีผิวของทารกมีการเปลี่ยนแปลงจากสีแดงเป็นสีน้ำตาล จะพบลักษณะนี้หลังจากทารกตายแล้ว 7-10 วัน สีผิวของทารกมีการเปลี่ยนแปลงเป็นสีเขียวหลังจากทารกตายแล้วหลายสัปดาห์
Early Maceration เกิดการเปลี่ยนแปลงภายใน 24 ชม. หลังทารกตาย โดยจะพบ มีการแยกชั้นของ epidermis ผิวหนังมีสีแดง
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.2 ตรวจหาปริมาณของ estriol ในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง พบว่า มีระดับลดต ่าลงทันที ภายใน 24-48 ชั่วโมง หรือตรวจหา creatinine phosphokinase activity ในน ้าคร ่าพบว่า สูงขึ้นมากภายหลังทารกตาย
3.3 ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ไม่พบ FHR กะโหลกศีรษะแยกออกเป็น 2 เส้นเนื่องจาก outer & inner table ของกระดูกแยกจากกัน ศีรษะทารกมีรูปร่างผิดปกติ มีการยุบของกะโหลกศีรษะและมีการซ้อนกันของกระดูกกะโหลกศีรษะ
3.1 การถ่ายภาพรังสี (X-rays)
Spalding’s sign
Deuel sign
กระดูกสันหลังโค้งงอมากกว่าปกติหรือหักงอเป็นมุม
พบเงาแก๊สในหลอดเลือดใหญ่ (aorta vena cava) ของทารก Robert sign
การตรวจร่างกาย
ฟัง FHS ไม่ได้
คลำพบกะโหลกศีรษะนิ่มกว่าปกติ
HF < GA
น้ำหนักตัวไม่ขึ้น
ตรวจพบมีสิ่งขับหลั่งสีน ้าตาลไหลออกจากช่องคลอด
1.การซักประวติ
ดัดตึงเต้านมน้อยลง
มีสิ่งขับหลั่งสีน้ำตาลไหลออกมาทางช่องคลอด
น้ำหนักตัวไม่ขึ้น
ได้รับอุบัติเหตุที่หน้าท้อง
ท้องเล็กลง
ซักประวัติได้ว่ารู้สึกทารกไม่ดิ้น
แนวทางการรักษา
การรักษาระยะเจ็บครรภ์คลอด พยายามให้คลอดเองทางช่องคลอด ซึ่งเป็นวิธีการคลอดที่มีอันตรายต่อมารดาน้อยที่สุด ในบางกรณีอาจจะได้ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง หากมารดาอยู่ในภาวะ decompensated DIC ควรให้องค์ประกอบของเลือดทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือดที่เสียไป
การรักษาระยะหลังคลอด ภายหลังทารกตายในครรภ์แล้ว แพทย์อาจให้ยายับยั้งการหลั่งน ้านม
การรักษาก่อนเจ็บครรภ์คลอด
1.2 กระตุ้นให้มีการเจ็บครรภ์คลอด โดยการให้ oxytocin, การให้ prostaglandins
1.3 หัตถการเพื่อยุติการตั้งครรภ
1.1 รักษาแบบประคับประคองและคอยให้เจ็บครรภ์คลอด แต่ควรติดตาม platelet count, PT, PTT และ fibrinogen
การพยาบาล
ระยะคลอด ให้การพยาบาลเหมือนกับการคลอดปกติ
ระยะหลังคลอด ให้การพยาบาลโดยให้มีความสุขสบายทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และให้ความรู้ในการวางแผนคุมกำเนิด
ประเมินความเศร้าโศกของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว กระบวนการความเศร้าโศกออกเป็นระยะ ดังนี้
1.3 ระยะต่อรอง (bargaining)
1.4 ระยะซึมเศร้า (depression)
1.2 ระยะโกรธ (anger)
1.5 ระยะยอมรับ (acceptance)
1.1 ระยะปฏิเสธ (denial of death of fetus)
ประเมินประสบการณ์ การแก้ปัญหา หรือการเผชิญปัญหาเมื่อเกิดการสูญเสีย
ประเมินระบบสนับสนุน ความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรม การปฏิบัติเกี่ยวกับ DFIU
ระยะก่อนคลอด
1.2 social support ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
1.3 ให้ความรู้ในการบรรเทาความเจ็บปวดในระหว่างรอคลอด
1.1 ติดตาม CBC, platelet count, PT, PTT และ fibrinogen อาจเกิดภาวะ DIC ได้
1.4 หากการคลอดได้ใช้สูติศาสตร์หัตถการ ควรให้ความรู้แก่มารดาเกี่ยวกับการท าสูติศาสตร์
หัตถการนั้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล มารดามีโอกาสได้รับอันตรายจากภาวะเลือดไม่แข็งตัวเนื่องจากทารกตายในครรภ
ข้อมูลสนับสนุน
S : มารดาบอกว่าลูกดิ้นน้อยลงมา 2 วัน
O : ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้ ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound) พบหัวใจทารกไม่เคลื่อนไหว
นายภูมิพัฒน์ เอมโอช เลขที่ 87 รหัสนักศึกษา 61113301088 ชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 36