Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์แฝด (Multiple pregnancy), นายภูมิพัฒน์ เอมโอช เลขที่ 87…
การตั้งครรภ์แฝด
(Multiple pregnancy)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีทารกในครรภ์มากกว่า 1 คนขึ้นไป การเรียกชื่อจึงแตกต่างกันออกไปแล้วแต่จำนวนทารก ได้แก่ แฝดคู่ (Twins) แฝดสาม (Triplets) แฝดสี่ (Quadruplets) แฝดห้า (Quintuplets) แฝดหก (Sextuplets)
สาเหตุ
แฝดที่เกิดจากไข่2 ใบ (Dizygotic) เชื่อว่าเกิดจากปัจจัย
หลายประการ
กรรมพันธุ์ (Heredity) โดยเฉพาะญาติฝ่ายทางมารดา
เชื้อชาติ (Race) ชนผิวด าพบบ่อยที่สุด
อายุมากพบได้บ่อยและการคลอดบุตรในครรภ์หลัง
ภาวะทุพโภชนาการดี
ยากระตุ้นการตกไข่ ได้แก่ Gonadotropin
ปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ ความสูงของร่างกายซึ่งพบว่าคนสูงจะมีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้น
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียว (Monozygotic) ไม่ว่าจะ
เป็นแฝดคู่ แฝดสยามหรืออื่นๆ จะไม่ทราบสาเหตุ
ชนิดของครรภ์แฝด สำหรับแฝดคู่
Dizygotic (Fraternal) twins แฝดชนิดนี้เป็นแฝดเทียม (False twins) เกิดจากการผสมของไข่ 2 ใบ กับเชื้ออสุจิ 2 ตัว
คนละรอบเดือน (Different or subsequent cycle)
Superfetation
รอบเดือนเดียวกัน (Same cycle)
Superfecundation
1.Monozygotic (Identical) twins แฝดชนิดนี้เป็นแฝดแท้ (True twins) เกิดจากการผสมของไข่ใบเดียวกับเชื้ออสุจิตัวเดียวจนได้ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้วแยกตัวเองเป็น 2 ใบ
Diamniotic
mono chorionic monozygotic twins pregnancy
Monoamniotic
monochorionic monozygotic twins pregnancy
Diamniotic
dichorionic monozygotic twins pregnancy
แฝดติดกัน (Conjoined twins) หรือแฝดสยาม
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
การให้ประวัติว่าการตั้งครรภ์ในครั้ง
นี้พบมดลูกมีขนาดโตเร็วกว่าปกติ หรือพบทารกดิ้นมากผิดธรรมดา
ได้รับยากระตุ้นการตกไข
สตรีที่มีรูปร่างใหญ่ น้ำหนักมาก หรือมีประวัติเคยตั้งครรภ์แฝด
มีการ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์ที่มีบุตรยาก
การตั้งครรภ์หลายครั้ง
การตั้งครรภ์อายุมาก
มีประวัติครรภ์แฝดในครอบครัว
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง
• น้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์ เพิ่มสูงขึ้นมากกว่าปกติ
• ขนาดมดลูกโตมากกว่าระยะของการขาดประจำเดือน (size>date)
• คลำพบได้ Ballottement หรือคล าได้ทารกมากกว่าหนึ่งคน
• คลำได้ส่วนเล็ก (Small part) มากกว่าธรรมดา คลำได้ส่วนใหญ่ (large part) สามแห่งหรือมากกว่า
• พบมีครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios)
• ฟังเสียงหัวใจทารกได้ 2 แห่ง อยู่ห่างจากกันคนละด้าน และมีอัตราแตกต่างกันอย่างน้อย 10 ครั้ง/นาที
การตรวจพิเศษ
การตรวจอัลตราซาวด
การวินิจฉัยแยกโรค
1.ครรภ์ไข่ปลาอุก (Molar pregnancy)
2.ครรภ์แฝดน ้า (Hydramnios)
3.ทารกตัวโต (Macrosomia)
4.ทารกหัวบาตร (Hydrocephalus)
5.ทารกบวมน ้า (Hydrops fetalis)
6.ก้อนเนื้องอกของมดลูกหรือของรังไข่ ที่พบร่วมกับการตั้งครรภ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
• Locked twins การติดขัดกันเองของครรภ์แฝดพบได้ 4 แบบ
2)Impaction (ส่วนน าทั้งคู่เบียดลงไปอัดแน่นกันอยู่ในเชิงกราน)
3)Compaction (เบียดแน่นโดยที่ส่วนน าตัวหนึ่งลงไปอยู่ในเชิงกรานได้ แต่ของอีกตัวหนึ่งเบียด
แซงอยู่หน้าบนกว่าโดยยังไม่ลงสู่เชิงกราน)
1)Collision (ส่วนน าเบียดแย่งกันลงเชิงกรานแต่ยังลงไม่ได้ทั้งคู่)
4)Interlocking (คางของทั้งสองตัวเกี่ยวกันในรายแฝดที่ท่าก้นและแฝดน้องท่าหัว) โ
ทารกพิการแต่กำเนิด
hydrocephalus
conjoined twin
สายสะดือย้อย
การตกเลือดหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
ปัญหาอื่นๆในระยะหลังคลอด เช่น การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
• ด้านทารก
1.ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (Fetal death in utero)
Twin-twin transfusion syndrome
(TTTS)
คลอดก่อนก าหนด
ภาวะอันตรายปริก าเนิดเพิ่มขึ้น
3.2 การบาดเจ็บจากการคลอด อันเป็นผลจากการคลอดผิดปกต
3.3 การคลอดก่อนกำหนด
3.1 การติดเชื้อ พบในรายที่มีประวัติถุงน้ำคร่ำแตกก่อนก าหนด
3.4 อื่นๆ เช่น จากการที่มีเส้นเลือดติดกันระหว่างแฝดทั้งสอง จากสายสะดือย้อย จากภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
การดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์แฝด
• ระยะคลอด
3.ให้ได้รับสารน้ำและอาหารทางหลอดเลือดดำ
4.เจาะเลือดหากลุ่มเลือดเตรียมจองเลือด เพื่อป้องกันการตกเลือดในระยะคลอดและหลังคลอด
2.จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียงในรายที่มีถุงน้ำคร่ำแตก เพื่อป้องกันสายสะดือพลัดต ่า
5.ช่วยแพทย์ในการทำคลอดทางช่องคลอด
1.ช่วยบรรเทาความเจ็บปวดโดยการผ่อนคลาย นวด ลูบหน้าท้อง การควบคุมการหายใจ
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
ประเมินภาวะติดเชื้อ โดยสังเกตลักษณะ สีจำนวนของน้ำคาวปลา
การให้ธาตุเหล็กทดแทนปริมาณเลือดที่เสียไป
ช่วยเหลือให้มีการปรับตัวที่เหมาะสมโดยเฉพาะการเลี้ยงบุตรแฝด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดการแลกเปลี่ยนออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากตั้งครรภ์แฝด พื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
O:
ระดับความสูงของยอดมดลูก ¾ เหนือระดับสะดือใต้ลิ้นปี่เล็กน้อย
ตั้งครรภ์แฝด FHS 138 ครั้ง/นาที บริเวณต ่ากว่าสะดือด้านซ้าย และอีกต าแหน่ง FHS 154 ครั้ง/
นาที บริเวณต ่ากว่าสะดือด้านขวา
U/S พบ แฝดคู่ทารกคนแรกท่า LOA ท่ารกคนที่ 2 ท่า ROP
S:
มารดาบอกว่าหายใจเหนื่อย นอนราบไม่ได้
มารดาบอกว่ารู้สึกแน่นอึดอัดมาก
นายภูมิพัฒน์ เอมโอช เลขที่ 87 รหัสนักศึกษา 61113301088 ชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 36