Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injuries), นางสาวนวลพรรณ จุลรัตน์ เลขที่…
การบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injuries)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การบาดเจ็บ (Trauma)
ความผิดปกติที่ไม่ได้เกิดจากการบาดเจ็บ (Non-traumatic disorders)
การเสื่อมของกระดูกสันหลัง
การอับเสบของเยื้อหุ้มไขสันหลัง
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)
เนื้องอก
โรคของหลอดเลือด เช่น ขาดเลือดหรือเลือดออก
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง
การดูแลระบบทางเดินหายใจให้โล่งขณะเดียวกันต้องระวังไม่ให้กระดูกคอเคลื่อนโดยการใส่ Philadelphia collar
การดูแลห้ามเลือดในที่เกิดเหตุ
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายและเจ็บปวดน้อยที่สุด
การเคลื่อนย้าย (transportation) ต้องใช้คนช่วยอย่างน้อย 3 คน log roll โดยการใช้ Spinal board เป็นวิธีการที่ดีที่สุด
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังระยะเฉียบพลัน
Breathing
Circulation (keep MAP ≥ 85 mmHg)
2.1 ให้สารน้ำเริ่มต้นเป็น 0.9% NSS
2.2 ให้ยา Vasopressin
การให้ยา
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
4.1 ดูแลการได้รับออกซิเจนในช่วง 72 ชั่วโมงแรก
4.2 ประเมิน Force Vital Capacity ผู้ป่วยทุกราย
การดูแลระบบทางเดินอาหาร และการขับถ่ายอุจาระ
การดูแลระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังจะเกิดภาวะ neurogenic bladder
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความอบอุ่นเพียงพอ
จัดหาเตียงที่เหมาะสม
การบาดเจ็บไขสันหลัง
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์ (Complete cord injury)
เป็นการบาดเจ็บที่ทำให้ไขสันหลังสูญเสียหน้าที่ทั้งหมด
สูญเสียการทำงานของกล้ามเนื้อและความรู้สึกในส่วนที่ต่ำกว่าพยาธิสภาพ
ควบคุมกล้ามเนื้อหูรูดรอบทวารหนักไม่ได้
เกิดอัมพาตอย่างถาวร ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ tetraplegia และ paraplegia
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์ (Incomplete spinal cord injury)
ร่างกาย ส่วนที่อยู่ต่ำกว่าระดับพยาธิสภาพ มีบางส่วนของระบบประสาทที่ยังทำหน้าที่อยู่ เช่น ผู้ป่วยมีกำลังกล้ามเนื้อหรือมีการรับรู้ที่ผิวหนังในส่วนที่ถูกควบคุมด้วยไขสันหลังที่อยู่ต่ำกว่าระดับที่ได้รับบาดเจ็บ สามารถขมิบรอบๆ ทวารหนักได้
นางสาวนวลพรรณ จุลรัตน์ เลขที่ 41 รหัสนักศึกษา62121301041