Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อจำกัดเเละเงื่อนไข - Coggle Diagram
ข้อจำกัดเเละเงื่อนไข
หมวดที่ 3 การรักษาโรคเบื้องต้น
ข้อ 10
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ให้กระทำการประกิบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาล ดังต่อไปนี้
10.1 ไข้ตัวร้อน
10.2 ไข้และมีผื่นหือจุด
10.3 ไข้จับสั่น
10.4 ไอ
10.5 ปวดศีรษะ
10.7 ปวดหลัง
10.8 ปวดเอว
10.6 ปวดเมื่อย
10.9 ปวดท้อง
10.10 ท้องผูก
10.11 ท้องเดิน
10.12 คลื่นไส้อาเจียน
10.13 การอักเสบต่างๆ
10.14 โลหิตจาง
10.15 ดีซ่าน
10.17 อาหารเป็นพิษ
10.16 โรคขาดสารอาหาร
10.18 โรคพยาธิลำไส้
10.19 โรคบิด
10.20 โรคไข้หวัด
10.21 โรคหัด
10.22 โรคสุกใส
10.23 โรคคางทูม
10.24 โรคไอกรน
10.25 โรคผิวหนังเหน็บชา
10.26 ปวดฟัน
10.27 เหงือกอักเสบ
10.28 เจ็บตา
10.29 เจ็บหู
10.30 โรคติดต่อตามปรกาศกระทรวงสาธารณสุข
10.31 ภาวะแท้งคุกคามหรือหลังแท้งแล้ว
10.32 การให้ภูมิคุ้มกันโรคทั่วไปแก่บุคคลทั่วไป หญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด ทารกและเด็ก
10.33 ความเจ็บป่วยอื่นๆ ตามที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
ข้อ 11
ผูัประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลกำนด
11.1 สาขาที่ศึกษาเฉพาะทาง
11.1.8 สาขาการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อและการควมคุมการติดเชื้อ
11.1.9 สาขาการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง
11.1.7 สาขาการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต (ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ)
11.1.10 สาขาการพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด
11.1.6 สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สงอายุ
11.1.11 สาขาการพยาบาลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
11.1.5 สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต (การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม)
11.1.12 สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว
11.1.4 สาขาเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต (การล้างไตทางช่องท้อง)
11.1.13 สาขาการจัดการโรคเรื้อรัง
11.1.3 สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉิน
11.1.14 สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
11.1.2 สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา
11.1.15 การพยาบาลสาขาอื่นๆที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
11.1.1 สาขาเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษาโรคเบื้องต้น)
11.2 ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร และได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตร
11.2.4 การพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อและการควบคุมการติดเชื้อ
11.2.5 การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
11.2.3 การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
11.2.6 การผดุงครรภ์
11.2.2 การพยาบาลเด็ก
11.2.7 การพยาบาลมารดาและทารก
11.2.1 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
11.2.8 การพยาบาลสาขาอื่นที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
11.3 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ตามข้อ11.1 และ 11.2 นอกจากจะปฏิบัติตามข้อ 9 และ 10 ได้แล้วสามารถทำการพยาบาล การรักษา หัตถการ ในสาขาที่ผ่านการศึกษา ตามข้อบังคับ
ข้อ 12
12.1 ตรวจวินิจฉัยและบ าบัดรักษาโรค ตามมาตรฐาน
12.2 ให่ส่งผู้ป่วยไปรับการบำบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เมื่อเห็นว่าอาการไม่บรรเทา
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ต้องกระทำการรักษาโรคเบื้องต้นตามข้อกำหนด
ข้อ 13
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาให้ใช้ยาได้ตามคู่มือการใช้ยา ที่สภากำหนด
ข้อ 14
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง การให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 15
ต้องมีบันทึกรายงานเกี่ยงกับประวัติของผู้ป่วย ตามความเป็นจริง
หมวดที่ 4 การประกอบวิชชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่ 1 การพยบาลก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
ข้อ 16
ให้การผดุงครรภ์ แก่หญิงและครอบครัว เมื่อต้องการมีบุตร ด้วยกระบวนการดังนี้
16.1 การตรวจประเมิณภาวะสุขภาพของหญิงและคู่สมรสเพื่อวางแผนการมีบุตร
16.2 การตรวจประเมิณภาวะการตั้งครรภ์ด้วยเวชภัณฑ์ทดสอบการตั้งครรภ์
16.3 การรับฝากครรภ์
16.3.1 การประเมิณภาวะสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ สอนการปฏิบัติตนของบิดาและมารดาในระหว่างตั้งครรภ์ การคลอดและหลังคลอด
16.3.2 การประเมิณการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน
16.3.3 การประเมิณ ประวัติทางสูติกรรม
16.3.4 การตรวจร่างกายทั่วไปและการประเมิณภาวะโภชนาการของหญิงมีครรภ์
16.3.5 การตรวจครรภ์และทารกในครรภ์ เพื่อประเมิณภาวะของการตั้งครรภ์
16.3.6 ให้ยาเสริมธาตุเหล็กและโฟเลตแก่หญิงมีครรภ์
16.3.7 หารให้วัคซีนกันบาดทะยัก และวัคซีนอื่นๆ
ข้อ 17
แนะนำและส่งต่อหญิงมีครรภ์ให้ได้รับการตรวจและการรักษากับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ข้อ 18
ส่งต่อหญิงมครรภ์กลุ่มเสี่ยง หรือตรวจพบภาวะครรภ์เป็นพิษ (Pre-eclampsia)
ส่วนที่ 2 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ 19
จะกระทำการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติ
ข้อ 20
ให้การผดุงครรภ์หญิงมีครรภ์ ระยะก่อนคลอด ดังนี้
20.1 การประเมินหญิงมีครรภ์
20.1.1 การประเมินประวัติการตั้งครรภ์ และประวัติการเจ็บป่วยอื่นๆ
20.1.2 การตรวจทางหน้าท้องเพื่อประเมินความพร้อมในการคลอด
20.2 การตวจประเมนทารกในครรภ์
20.2.1 การตรวจการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
20.2.2 ประมาณน้ำหนักทารกในครรภ์
20.2.3 ส่วนนำและท่าทารกในครรภ์
20.3 การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ข้อ 21
การพยาบาลระยะคลอด (Intrapartum)
21.1 การพยาบาลหญิงมีครรภ์ ที่ได้รับการชักนำการคลอด (Induction of labour)
21.2 การทำคลอดในรายปกติ เตรียมท่าคลอดเมื่อปากมดลูกเปิดสมบูรณ์แล้ว
21.3 ทำคลอดรก และเยื่อหุ้มทารก
21.4 การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ ในรายที่มีการฉีกขาดที่ไม่เกินระดับ 2 (Second degree tear)
21.5 การประเมินการเสียเลือด
21.6 การประเมินสัญญานชีพ หลังคลอดทันทีและก่อนการย้ายออกจากห้องคลอด
ข้อ 22
การช่วยเหลือผู็ประกอบวิชาชึพเวชกรรมทำคลอด ในรายที่มีการคลอดผิดปกติ
ข้อ 23
ห้ามกระทำการที่เกี่ยวกับการคลอด ดังนี้
23.4 การกลับท่าของทารกในครรภ์ ทั้งภานในและภายนอกครรภ์ (Internal and external version)
23.5 การใช้มือกดท้องในขณะช่วยทำคลอด
23.3 การล้วงรก (Manual removal of placenta)
23.6 การเย็บซ่อมฝีเย็บที่มีการฉีกขาดระดับ 3
23.2 การทำคลอดที่มีความผิดปกติ
23.7 การทำแท้ง
23.1 เจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจภาวะการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ (amniocentesis)
ข้อ 24
จะกระทำการช่วยคลอดฉูกเฉินในรายที่มีการคลอดผิดปกติที่ไม่สามารถตรวจพบก่อนการทำคลอด
ข้อ 25
ในรายที่มีการตกเลือดหลังคลอด ให้รักษาอาการตกเลือดเบื้องต้นตามความจำเป็นและส่งต่อทันที
ส่วนที่ 3 การพยาบาลมารดาและทารก ระยะหลังคลอด (Postpartum)
ข้อ 26
ให้การพยาบาลกับมารดาหลังคลอดอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ข้อ 27
จะต้องใช้ยาทำลายหรือป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตา หรือป้ายตาทารกแรกเกิดทันที
ข้อ 28
การพยาบาลทารกแรกเกิด โดยการประเมินสัญญานชีพ ความผิดปกติ หรือความพิการที่สามารถมองเห็นได้ชัด
ข้อ 29
ต้องบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของหญิงตั้งครรภ์ ตามความเป็นจริง
ข้อ 30
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นสอง ให้กระทำการพยาบาล ระยะคลอด และการพยาบาลหลังคลอด ในรายตั้งครรภ์ปกติและการคลอดปกติ ในสถานพยาบาลปละการเยี่ยมบ้านที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เมื่อกระทำร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ห้ามไม่ให้กระทำในกรณีที่เป็นปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน หรือตรวจพบความผิดปกติ
ส่วนที่ 4 การวางแผนครอบครัวและการคัดกรองมารดาทารก
ข้อ 31
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง สามารถทำการพยาบาล และการวางแผนครอบครัว ดังนี้
31.1 การให้คำปรึกษากับคู่สมรสในการวางแผนครอบครัว
31.2 การให้บริการวางแผบครอบครัวแบบใช้ยาหรืออุปกรณ์
31.2.4 วงแหวนคุมกำเนิด
31.2.5 แผ่นแปะคุมกำเนิด/ยาคุมชนิดแผ่นแปะผิวหนัง
31.2.3 ถุงยางอนามัย
31.2.6 การฝังและถอดยาคุมกำเนิด (Nor plant)
31.2.2 ยาฉีดคุมกำเนิด (DMPA)
31.2.7 อื่นๆ
31.2.1 ยาคุมกำเนิด (Oral contracetive pills)
ข้อ 32
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่งสามารถทำการคัดกรองทารก
32.1 การทำ Pep smear
32.2 การประเมินภาวะสุขภาพ ความผิดปกติและความพิการของทารก
ข้อ 33
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นสอง การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือใช้อุปกรณ์
33.2ถุงยางอนามัย
33.3 วงแหวนคุมกำเนิด
33.4 แผ่นแปะคุมกำเนิด/ยาคุมชนิดแผ่นแปะผิวหนัง
33.1 ยาคุมกำเนิด (Oral contracetive pills)
หมวดที่ 5 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารก และเด็ก
ข้อ 34
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง จะให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 35
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นสอง ให้คำแนะนำเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่วนที่ 1 การพยาบาล
ข้อ 5
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง กระทำการพยาบาลโดยใช้ กระบวนการพยาบาล
5.1 การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล
การตรวจประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริม การป้องกัน การควบคุมการแพร่กระจาย การปฐมพยาบาล การบำบัด และการฟื้นฟู
5.2 การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษา
5.3 การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ
5.4 การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
5.5 การให้การพยาบาลที่บ้านและส่งเสริมความสามารถของบุคคล
ข้อ 6
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง จะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ได้ระบุไว้ในแผนการรักษา
6.1 ห้ามให้ยา หรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง
6.2 ห้ามให้ยา หรือสารละลาย หรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสี
ห้ามมิให้ยาหรือสารละลายทางหลอดเลือดดำ
1.1 กลุ่มสารละลายทึบรังสี (Contrast media) ทุกชนิด
1.2 กลุ่มยาระงับความรู้สึกที่ให้ทางหลอดเลือดดำ (Intravenous anesthetic agents)
Thiopental sodium
Ketamine hydrochloride
Propofal
Etomidate
เคมีบำบัดต้องเข้าอยรมก่อน
ต้องผ่านการอบรมการให้ยาเคมีบำบัด
ต้องเป็นกลุ่มยาเคมีบำบัดที่ได้มีการเตรียม
ต้องให้กลุามยาเคมีบำบัดได้เฉพาะทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย หรือที่เปิดไว้แล้ว
ข้อ 7
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง ให้กระทำการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนตามแผนการพยาบาล
ข้อ 8
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง จะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะการให้ยาทางปากและยาภายนอก
ห้ามให้ยาในชนิด และช่องทางตามข้อ 6.1 และ 6.2
ส่วนที่ 2 การทำหัตถการ
ข้อ 9
ผู้ประกอบวิชชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง กระทำการพยาบาลโดยการทำหัตถการตามขอบเขต ดังนี้
9.1 การทำแผล การตกแต่งบาดแผล การเย็ดแผลขนาดลึกไม่เกิน ชั้นเนื้อเยื่อไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous tissue)
9.2 การผัดตัดเอาสิ่งแปลกปลอม การผ่าฝี การผ่าตัดตาปลา การเลาะก้อนใต้ผิงหนัง ในตำแหน่งที่ไม่เป็นอันตราย
9.3 การถอดเล็บ การจี้หูดหรือจี้ตาปลา
9.4 การให้ออกซิเจน
9.5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ในผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต ภาวะสูญเสียสมดุลของสารน้ำในร่างกาย ตามแผนการรักษา
9.6 การให้ยา ทางปาก ทางผิวหนัง ทางหลอดเลือดำ หรือช่องทางอื่นๆ ตามแผนการรักษา
9.7 การให้เลือด (Blood transfusion) ตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ให้เองไม่ได้)
9.8 การเปิดทางเดินหายใจให้โล่งด้วยการดูดเสมหะ การเคาะปอด
9.9 การช่วยฟื้นคืนชีพ (Cardio pulmonary resuscitation)
9.10 การเช็ดตา ล้างตา (Eye iri]rigation)
9.11 การสอดใส่สายยางลงไปในกระเพาะอาหาร (Nasogastric tube)
9.12 การสวนปัสสาวะ
9.13 การสวยทางทวารหนัก
9.14 การดาม หรือการใส่เฝือก ชั่วคราว
9.15 การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
9.16 การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดดำ
9.17 หัตถการอื่นๆ
หมวดที่1 บททั่วไป
ข้อ 4
การรักษาเบื้องต้น
กระบวนการประเมินภาวะสุขภาพืั้งการซักประวัติ ตรวจร่างกาย การวินิจฉัยแยกโรค การรักษา
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การได้รับบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยกะทันหัน เป็นอันตรายต่อชีวิต ต้องรักษาอย่างทันท่วงที
การเจ็บป่วยวิกฤต
การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นอาจทำให้ถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
การปฐมพยาบาล
การให้ความช่วยเหลือ เพื่อบรรเทาอาการ
การให้ภูมิคุ้มกัน
กระบวนการที่ทำให้ร่างกายสร้าง หรือเกิดภูมิคุ้มกัน