Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 2564 -…
ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 2564
หมวด2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การพยาบาล
ข้อ 6
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง
ให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
การให้ยาผู้รับบริการดังกล่าว ให้อยู่ภายใต้เงื่อนไข ดังนี้
ห้ามให้ยาหรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง
หรือช่องไขสันหลัง หรือ สายสวนทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง
และช่องทางอื่น ตามที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
ห้ามให้ยา หรือสารละลาย หรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสีวินิจฉัย
และยาอื่น ตามทีสภาการพยาบาลประกาศกำหนด
ข้อ 7
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสอง ให้กระทำกาพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนตามแผนการพยาบาล กรณีที่เป็นปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน ทำการประกอบวิชาชีพการพยาบาลได้ ต้องกระทำร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง
ข้อ 5
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง กระทำการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ไขปัญหา
เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยการวางแผนการดูแลต่อเนื่องและ
การเสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลตนเองของประชาชน
การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกัน การควบคุม และการแก้ปัญหาความเจ็บป่วย
การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาลและ/หรือแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม การใช้เครื่องมือพิเศษ การติดตามผล การประสานทีมสุขภาพใoการจัดบริการให้เป็นไปตามมาตรฐานการพยาบาล
1.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล การตรวจประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการบาดเจ็บ การควบคุมการแพร่กระจายโรค การปฐมพยาบาลการบำบัดโรคเบื้องต้น และการฟื้นฟูสุขภาพ
การให้การพยาบาลที่บ้านและการส่งเสริม ความสามารถของบุคคล
ครอบครัว และชุมชนเพื่อใช้ชีวิตอย่างปกติสุข
ข้อ 8
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสอง จะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะการให้ยาทางปากและยาภายนอก ตามที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ซึ่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษาหรือเมื่อเป็นการปฐมพยาบาล และห้ามให้ยาในชนิดและช่องทางประกาศตามข้อ 6.1 และ 6.2
การทำหัตถการ
ข้อ9
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง กระทำการพยาบาลโดยการทำหัตถการตามขอบเขตที่กำหนด ดังนี้
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต ภาวะสูญเสียสมดุลของสารน้ำในร่างกาย ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะช็อค
การทำแผล การตกแต่งบาดแผล การเย็บแผลขนาดลึก ใช้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ หรือการตัดไหมในตำแหน่งที่ไม่เป็นอันตราย การดูแลรักษาบาดแผลไหม้ แผลน้ำร้อนลวก หรือสารเคมี ไม่เกินระดับ 2 ของแผลไหม้
การให้เลือด
การเปิดทางเดินหายใจให้โล่งด้วยการดูดเสมหะ การเคาะปอด
การช่วยฟื้นคืนชีพ
การเช็ดตา ล้างตา หยอดตา ป้ายตา ปิดตา การล้างจมูก
การผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอม การผ่าฝี การผ่าตัดตาปลา การเลาะก้อนใต้ผิวหนัง ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนังหรือฉีดยาชาเฉพาะที่
การสอดใส่สายยางลงไปในกระเพาะอาหาร
การถอดเล็บ การจี้หูดหรือจี้ตาปลา โดยใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนังหรือฉีดยาชาเฉพาะที่
การสวนปัสสาวะ หรือการเปลี่ยนสายสวนปัสสาวะ
การให้ออกซิเจน
การให้ยาทางปาก ผิวหนัง หลอดเลือดดำ
การสวนทางทวารหนัก
การดาม หรือการใส่เฝือก ชั่วคราว
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดดำส่วนปลายหรือปลายนิ้ว หรือสารคัดหลั่ง
หัตถการอื่น ๆ ตามที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
บททั่วไป
ข้อ 4
การรักษาโรคเบื้องต้น
กระบวนการประเมินภาวะสุขภาพ
การตรวจร่างกาย
การวินิจฉัยแยกโรค
การซักประวัติ
การรักษาโรคและการบาดเจ็บ
การป้องกันโรค
การปฐมพยาบาล
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การได้รับบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยกะทันหัน เป็นภยันตรายต่อการดำรงชีวิตหรือการทำงานของอวัยวะสำคัญ
การปฐมพยาบาล การปฏิบัติและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต
การเจ็บป่วยวิกฤต
การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงหรือที่มีผลต่อชีวิต
การปฐมพยาบาล
การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ที่บาดเจ็บหรือเจ็บป่วย
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กระบวนการที่ทำให้ร่างกายสร้าง หรือเกิดภูมิคุ้มกันหรือมีภูมิต้านทานต่อโรคที่ต้องการ โดยการให้วัคซีน
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ 25
ในรายที่มีการตกเลือดหลังคลอดถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาให้รักษาอาการตกเลือดเบื้องต้นตามความจำเป็นและส่งต่อทันที
ข้อ 24
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง จะกระทำการช่วยคลอดฉุกเฉินในรายที่มีการคลอดผิดปกติที่ไม่สามารถตรวจพบก่อนการทำคลอด และไม่สามารถหาผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทำการคลอดได้ภายในเวลาอันสมควรและเห็นประจักษ์ว่าถ้าละเลยไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาหรือทารกก็ให้ทำคลอดในรายเช่นนั้นได้ แต่ห้ามให้ใช้คีมสูงในการทำคลอด หรือใช้เครื่องดูดสุญญากาศในการทำคลอด หรือทำการผ่าตัดในการทำคลอดหรือให้ยารัดมดลูกก่อนคลอด
ข้อ 23
ห้าม ชั้นหนึ่ง กระทำการที่เกี่ยวกับการคลอดดังนี้
การทำคลอดที่มีความผิดปกติ
การล้วงรก
การเจาะน้ำคร่ำ
การกลับท่าของทารกในครรภ์
การเย็บซ่อมฝีเย็บที่มีการฉีกขาดระดับ3
การทำแท้ง
การใช้มือกดท้องในขณะช่วยทำคลอด
ข้อ 22
การช่วยเหลือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทำคลอด
ในรายที่มีการคลอดผิดปกติ การช่วยทำหัตถการทาง
สูติกรรมที่มีความปลอดภัยต่อหญิงมีครรภ์
ข้อ 21
การพยาบาล ระยะคลอด
การทำคลอดในรายปกติ
ทำคลอดรก และเยื่อหุ้มทารกโดยใช้วิธี Modified Credé Maneuver
การพยาบาลหญิงมีครรภ์ ที่ได้รับการชักนำการคลอด
การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ ในรายที่มีการฉีกขาดที่ไม่เกินระดับ2
การประเมินการเสียเลือด
การประเมินสัญญาณชีพ
ข้อ 20
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ให้การผดุงครรภ์หญิงมีครรภ์ ระยะก่อนคลอด ดังนี้
การประเมินหญิงมีครรภ์
การตรวจทางหน้าท้องเพื่อประเมินความพร้อมในการคลอด
การประเมินประวัติการตั้งครรภ์ และประวัติการเจ็บป่วยอื่นที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์และการคลอด
การตรวจประเมินทารกในครรภ์
การตรวจการเต้นของหัวใจทารก
ประมาณน้้ำหนักทารก
ส่วนนำและท่าทารก
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ข้อ 19
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง จะกระทำการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติ ตลอดจนการดูแลมารดาและทารกแรกเกิด
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารก และเด็ก
ข้อ 35
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสอง ให้คำแนะนำเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 34
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง จะให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนด
การพยาบาลมารดาและทารก ระยะหลังคลอด
ข้อ26
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ให้การพยาบาลกับมารดาหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
ข้อ 27
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง จะต้องใช้ยาทำลายและป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตา หรือป้ายตาทารกแรกเกิดทันที
ข้อ 28
การพยาบาลทารกแรกเกิด โดยการประเมินสัญญาณชีพ ความผิดปกติ หรือความพิการที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน และให้มารดาได้สัมผัสโอบกอดทารกและเริ่มให้ดูดนมจากมารดาภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด
ข้อ 29
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง จะต้องบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของหญิงตั้งครรภ์ การพยาบาลระยะตั้งครรภ์ การคลอดการพยาบาลหลังคลอด และการให้การบริการตามความเป็นจริงต้องเก็บบันทึกรายงานไว้เป็นหลักฐาน เป็นระยะเวลา 5 ปี
ข้อ 30
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสอง ให้กระทำการพยาบาลระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และการพยาบาลหลังคลอดในรายตั้งครรภ์และการคลอดปกติ ในสถานพยาบาลและการเยี่ยมบ้านที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนเมื่อเป็นการทำร่วมกับชั้นหนึ่ง ชั้นนหนึ่ง ห้ามไม่ให้กระทำในกรณีที่เป็นปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน
การพยาบาลก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
ข้อ 17
แนะนำและส่งต่อหญิงมีครรภ์ให้ได้รับการตรวจและการรักษากับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ข้อ 18
ส่งต่อหญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยงหรือการตรวจพบภาวะครรภ์เป็นพิษหรือมีภาวะความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และการคลอดอื่น ๆ ให้ได้รับการรักษาพยาบาลจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ข้อ 16
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ให้การผดุงครรภ์แก่หญิงและครอบครัว เมื่อต้องการมีบุตร ก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์ ด้วยกระบวนการ ดังนี้
การตรวจประเมินภาวะสุขภาพของหญิงและคู่สมรสเพื่อวางแผนการมีบุตร
การรับฝากครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ การสอนการปฏิบัติตนของบิดาและมารดาใน ระหว่างตั้งครรภ์ การคลอดและหลังคลอด
การประเมินการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน ที่อาจมีผลกระทบ
การประเมิน ประวัติทางสูติกรรม จำนวนครั้งที่เคยตั้งครรภ์ ผลการตั้งครรภ์แต่ละครั้ง รายละเอียดการคลอด
การตรวจร่างกายทั่วไปและการประเมินภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์
การตรวจครรภ์และทารกในครรภ์ เพื่อประเมินภาวะของการตั้งครรภ์ และตรวจเต้านมและหัวนม
ให้ยาเสริมธาตุเหล็กและโฟเลตแก่หญิงมีครรภ์
การให้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก และวัคซีนอื่นตามเกณฑ์
การตรวจประเมินภาวะการตั้งครรภ์ด้วยเวชภัณฑ์ทดสอบการตั้งครรภ
การวางแผนครอบครัวและ
การคัดกรองมารดาทารก
ข้อ 31
ชั้นหนึ่ง สามารถกระทำการพยาบาลและการวางแผนครอบครัว ดังนี้
การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือใช้อุปกรณ์
ยาเม็ดคุมกำเนิด
ยาฉีดคุมกำเนิด
ถุงยางอนามัย
วงแหวนคุมกำเนิด
แผ่นแปะคุมกำเนิด/ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง
การฝังและถอดยาคุมกำเนิด
อื่น ๆ
ข้อ 32
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง สามารถทำการคัดกรองมารดาทารก
การทำ Pap smear
การประเมินภาวะสุขภาพ ความผิดปกติและความพิการของทารก
ข้อ 33
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสอง การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือใช้อุปกรณ์
ยาเม็ดคุมกำเนิด
ถุงยางอนามัย
วงแหวนคุมกำเนิด
แผ่นแปะคุมกำเนิด/ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง
หมวด3 การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 14
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง การให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ 12
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ต้องกระทำการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรคโดย
ตรวจวินิจฉัยและบำบัดรักษาโรค ตามมาตรฐานของการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ให้ส่งผู้ป่วยไปรับการบำบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เมื่อตรวจพบหรือพิจารณาแล้วเห็นว่าอาการไม่บรรเทา
เป็นโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความตามกฎหมาย หรือมีเหตุอันควร
ข้อ 15
ต้องมีบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วย วันเวลาในการให้บริการ ชื่อผู้ประกอบวิชาชีพเก็บบันทึกและรายงานไว้เป็นหลักฐานเป็นเวลา 5 ปี
ข้อ 10
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง กระทำการประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกำหนดการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ปวดหลัง
ปวดท้อง
ปวดเอว
ท้องผูก
ปวดเมื่อย
ท้องเดิน
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้อาเจียน
ไอ
การอักเสบต่าง ๆ
ไข้จับสั่น
โลหิตจาง
ไข้และมีผื่นหรือจุด
ดีซ่าน
ไข้ตัวร้อน
โรคขาดสารอาหาร
อาหารเป็นพิษ
โรคพยาธิลำไส้
โรคบิด
โรคไข้หวัด
โรคหัด
โรคสุกใส
โรคคางทูม
โรคไอกรน
โรคผิวหนังเหน็บชา
ปวดฟัน
เหงือกอักเสบ
เจ็บตา
เจ็บหู
โรคติดต่อตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ภาวะแท้งคุกคามหรือหลังแท้งแล้ว
การให้ภูมิคุ้มกันโรคแก่บุคคลทั่วไป
ความเจ็บป่วยอื่น ๆ
ข้อ 13
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาให้ใช้ยาได้ตามคู่มือการใช้ยาที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
ข้อ 11
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตร
ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร และได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตร
การพยาบาลเด็ก
การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
การพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อและการควบคุมการติดเชื้อ
การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
การผดุงครรภ์
การพยาบาลมารดาและทารก
การพยาบาลสาขาอื่น
การพยาบาลเฉพาะทาง
สาขาเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต
สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต
สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉิน
สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ
สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา
สาขาการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต
สาขาเวชปฏิบัติทั่วไป
สาขาการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อและการควบคุมการติดเชื้อ
สาขาการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง
สาขาการพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด
สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว
สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
สาขาการจัดการโรคเรื้อรัง
สาขาการพยาบาลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
การพยาบาลสาขาอื่น
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ตามข้อ 11.1 และข้อ 11.2 นอกจากปฏิบัติตามข้อ 9 และข้อ 10ได้แล้ว สามารถทำการพยาบาล การรักษาโรคเบื้องต้นและหัตถการ ในสาขาที่ผ่านการศึกษา ฝึกอบรม