Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจ หลอดเลือด และไต - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจ หลอดเลือด และไต
ยาความดันโลหิตสูง
การพิจารณาเลือกยาลดความดันโลหิต
ผู้ป่วยที่ไม่มีโรคร่วมแนะนา ให้เริ่ม จากยา 2 ชนิด ร่วมกัน
หากยังไม่สามารถควบคุมได้ด้วยยา 3 ชนิด แนะนำ ให้พิจารณาเพิ่มยากลุ่ม Beta-blockers, Spironolactone
หรือ Alpha-blockers ทีละชนิด
Angiotensin receptor blockers(ARBs) ร่วมกับยาขับปัสสาวะหรือยากลุ่ม Calcium-channel blockers (CCBs)
ยากลุ่ม Renin-Angiotensin system blockers Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs)
หากไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเป้าหมายด้วยยา 2 ชนิด
แนะนำ ให้เพิ่ม ชนิดที่3 โดยให้มียาขับปัสสาวะกลุ่ม Thiazides ร่วมด้วย
การรักษาความดันโลหิตสูง
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต
การใช้ยาลดความดันโลหิต
Angiotensin Converting Enzyme Inhibitors (ACEIs)
ACEIs ได้แก่ Enalapril, Captopril
การป้องกันการเกิดภาวะหัวใจโต
มีผลดีต่อไต และหลอดเลือดที่ไต
สามารถใช้ในผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตสูง และมีภาวะโรคไตร่วมด้วย
ผลข้างเคียง
อาการไอแห้งๆ
ระดับโปตัสเซียมสูง
การรับรสเปลี่ยนไป
ความดันโลหิตต่ำ เมื่อใช้ยาครั้งแรก
ข้อห้ามใช้
ู้ป่วยที่มีภาวะหลอดเลือดที่ไตตีบ เพราะจะทำ ให้เกิดไตวายเฉียบพลันได้
ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์ เพราะมีความเสี่ยงทำ ใหทารกเกิดความผิดปกติ และมีความดันโลหิตลดลง
Angiotensin Receptor Blockers (ARBs)
ใช้รักษาโรคไตที่เป็นผลแทรกซ้อนจากการเป็นโรคเบาหวาน
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง angiotensin II ที่receptor AT1
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว
หลอดเลือดขยายตัว
เพิ่ม การขับ Sodium และน้ำ
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำ ให้ร่วมกับยาขับปัสสาวะ เกิดภาวะ Hyperkalemia
รักษาและอาการข้างเคียงจะคล้ายคลึง ACEIs แต่ไม่เกิดอาการไอเหมือนกับ ACEIs
Beta-blockers
ใช้รักษาความดันโลหิตสูงทุกระดับความรุนแรง
ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มี nephropathy
มีฤทธิ์กดการทำงานของหัวใจ ห้ามใช้ผู้ที่มีsecond หรือ third degree heart block
กลไกการออกฤทธิ์
ลดการหลั่งสาร Norepinephrine และ Renin
ยับยั้งที่จำเพาะเจาะลงต่อ Beta-1 receptor
ขยายหลอดเลือดผ่านการยับยั้ง Beta-2 receptor
ขยายหลอดเลือดผ่านการยับยั้ง Alpha-1 receptor
ขยายหลอดเลอืดผ่านการกระตุ้นการหลั่งสาร Nitric oxide
ข้อห้ามใช้
ผู้ป่วยที่มี severe or active airway diseases
ผู้ที่มีภาวะ acute decompensated heart failure
ผู้มีภาวะ second- or third-degree atrioventricular block
ผู้ป่วยโรคหอบหืด
ข้อควรระวัง
ผลทำให้เกิด glucose tolerance และไขมันในเลือดสูง ในผู้ป่วยเบาหวาน หรือ
ผู้ป่วยที่มีไขมนัในเลือดสูง
Calcium channel blockers
ออกฤทธิ์เป็นยาขยายหลอดเลือด
ยาในกลุ่มนี้แต่ละตัวอาจมีผลต่อการทำงานของหัวใจต่างกัน
ผลข้างเคียง
อาการที่พบบ่อยคือ เท้าบวม
nifedipine เป็นยาที่ไดรับความนิยมและมีผลข้างเคียงไม่ มากนัก
ส่วน verapamil, diltiazem อาจทำให้เกิดอาการท้องผูก และเกิด heart block ได้ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
Diuretics ยาขับปัสสาวะ
แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม
กลุ่ม loop diuretics
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ NaCl ที่ท่อไตบรเิวณ thick ascending limb
ของ henle’s loop
ลดการดูดซึมกลับที่บริเวณ proximal tubul
เพิ่มอัตราการไกลเวียนไต
อาการข้างเคียง
ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น
ผื่น คัน ความดันโลหิตต่ำ
เกิดความเป็นพิษต่อหูได้ถ้าใช้ในขนาดสูง
กลุ่มThiazide Diuretics
อาการข้างเคียง
เพิ่มระดับไขมันโคเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ในซรั่ม
Sodium ในเลือดต่ำ
ข้อห้ามใช้
ไม่ควรใช้ยาบ่อยครั้งหรือใช้ยาขนาดสูงในผู้ป่วยตับแข็ง ไตวาย หัวใจล้มเหลว เบาหวาน
และโรคเก๊าท์
ไม่ใช้ร่วมกับผู้ป่วยที่ได้รับยา digitalis เพราะทำให้เกิด digitalis toxicity ได้ ง่าย
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ NaCl ที่บริเวณ distal tubule มีผลเพิ่มการขับ sodium ions และ chloride ions จากไต
กลุ่ม potassium-sparing diuretics
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium ions ที่บรเิวณ collecting duct
ช่วยลดการสูญเสีย potassium ions
อาการข้างเคียง
ยูเรียในเลือดสูง
คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน ปวดศรีษะ
ตะคริวที่ขา
เต้านมโตในผู้ชาย
กลุ่ม Osmotic diuretics
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium และน้ำที่บริเวณ proximal tubule
อาการข้างเคียง
ปวดศรีษะ คลื่น ไส้อาเจียน อาจพบโซเดียมในเลือดต่ำ
การใช้ยาในขนาดสูงอาจให้เกิดภาวะขาดน้ำ
กลุ่ม Carbonic Anhydrase inhibitors
ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ carbonic anhydrase
อาการข้างเคียง
ปวดศีรษะ
การรับความรู้สึกผิดไป
ร้อนวูบวาบ
เบื่อ อาหาร (anorexia)
หูอื้อ (tinitus)
ยาที่ใช้ในการรักษาความผิดปกติของหัวใจ
ภาวะเจ็บเค้นหน้าอก
ยากลุ่มไนเตรท (Nitrates) และไนไตรท์ (Nitrite)
กลไกการออกฤทธิ์
ขยายหลอดเลือดโดยการหลั่ง nitric oxide (NO) เข้าสู่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
กระตุ้น guanylate cyclase ใน cytoplasm
ออกฤทธิ์ต่อเลือดดำ มากกว่าเลือดแดง
อาการข้างเคียง
หน้าแดง ปวดหัวมึน ศีรษะ
เป็นลม
ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่า
หัวใจเต้นเร็ว
ยาต้านแคลเซียม (Calcium channel blocking agents)
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ลดการทำงานของหัวใจได้ดี
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ Nifedipine
ขยายหลอดเลือดได้ดี มีผลต่อการทำงานของหัวใจน้อย
3.ยาที่ออกฤธิ์ยับยั้งเบต้าอะดรีเนอร์จิกรีเซพเตอร์ (beta-blockers)
กลไกการออกฤทธิ์
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
ลดความดันโลหิต
ลดความแรงในการบีบตัวของหัวใจ ส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจ
ต้องการใช้ออกซิเจนลดลง
ยารักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
ยาขับปัสสาวะ (Diuretics)
รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวเพื่อ ลดภาวะบวมน้ำ
ปริมาตรเลือดกลับสู่ปกติ
การนำไปใช้ทางคลินิก
Loop diuretics ใช้รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังระดับรุนแรง
กลุ่มไธอะไซด์ใชร้กัษาภาวะหัวใจล้มเหลวระดับปานกลาง
การทำงานของไตปกติ
ใช้ในผู้ป่วยที่มีการทางานของไตบกพร่องได้
ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของระบบเรนินเองจิโอเทนซิน
การนำไปใช้ทางคลินิก
ยากลุ่ม ACE Inhibitors
นิยมมใชเ้พื่อ ช่วยลดความรุนแรงของโรค
เพิ่มคุณภาพชีวิต อัตราการอยู่รอดของผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
ยากลุ่ม ARBs
ใช้ในกรณีผู้ป่วยมีอาการข้างเคียงจากการใช้ยาในกลุ่ม ACEIs
กลุ่มยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
ลด preload, afterload
ลดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
การนำไปใช้ทางคลินิก
ยา Hydralazine และ Isosorbine dinitrate
ลดอัตราการตายของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวได้
ยา Glyceryl trinitrate
ใช้ในกรณีเกิดอาการหัวใจล้มเหลวชนิดเฉียบพลัน
และมีอาการปอดบวมน้ำร่วมด้วย เพื่อช่วยลดความดันในช่องปอด
กลุ่ม Blockers
กลไกการออกฤทธิ์
ลดความรุนแรงของโรค
ลดอัตราการตายของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวได้
ยาทำให้หัวใจเต้นช้าลง
ยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ (Positive innotropics)
ยากลุ่ม Cardiac glycosides
กลไกการออกฤทธิ์
มีผลเพิ่ม ความแรง ในการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ออกฤทธิ์ยับยั้ง Na+,K+-ATPase
มีผลให้ sodium ions ในเซลล์มากขึ้น
ส่งผลลดการท างาน Na+/Ca2+ exchanger
การนำไปใช้ทางคลีนิก
รักษาภาวะหัวใจล้มเหลว มีผลเพิ่ม การบีบตัวของหัวใจ
รักษาและป้องกันการเกิดภาวะน้ำท่วมปอด
อาการข้างเคียง
การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ, หัวใจเต้นเร็ว, ใจสั่น คลื่น ไส้อาเจียน จาก cardiac glycosides
ยาออกฤทธิ์
์กระตุ้นอะดรีเนอจิกรีเซพเตอร์ (Adrenergic agonists)
กลไกการออกฤทธิ์
Dobutamine : ออกฤทธิ์
์กระตุ้นที่receptor ที่กล้ามเนื้อหัวใจ ส่งผลเพิ่ม cardiac output
Dopamine : การใช้ใน low dose ออกฤทธิ์
์กระตุ้นที่dopaminergic receptor บนกล้ามเนื้อเรียบ
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้ในกรณีหัวใจล้มเหลวชนิดเฉียบพลัน หรือใช้ยาชนิดรับประทานไม่ได้ผล โดยใช้ในระยะสั้น
อาการข้างเคียง
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
ความต้องการ O2 ของกล้ามเนื้อหัวใจเพิ่มขึ้น
ทำให้เกิดการเจ็บอก
ยาออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ฟอสโฟไดเอสเทอเรส (Phosphodiesterase inhibitors)
กลไกการออกฤทธ์
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ phosphodiesterase
ลด vascular resistance » เพิ่ม cardiac output
การนำไปใช้ทางคลินิก
โรคหัวใจล้มเหลวระดับรุนแรง ที่ใช้ยาตัวอื่นแล้วไม่ได้ผล
ใช้ในกรณีใช้ dobutamine ไม่ได้ผล (ดื้อยา)
อาการข้างเคียง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ, เจ็บอก,ความดันโลหิตต่ำ,
ปวดศีรษะ
ยาที่ใช้รักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Class I sodium channel-blockers
Class I subgroup 1A - ใช้รักษาภาวะ ventricular arrhythmia
ผลข้างเคียง ท้องเสีย เบื่อ อาหาร ขมในปาก วิงเวียน ปวดศรีษะ
Class I subgroup 1B: lidocaine,tocainide, mexiletine
ใช้รักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ร่วมกับภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย เฉียบพลัน
ผลข้างเคียง ความดนัโลหิตลดลง อาการใจสั่น คลื่นไส้การได้ยินผิดปกติพูดช้า ชัก
Class I subgroup 1C: flecainide,propafenone
Class II blockers : Propanolol,Esmolol
ช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจ Esmolol ใช้ในการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเฉียบพลัน
Class III Potassium channel blocker : amiodarone, bretylium (IV), sotalol
ทำให้มีระยะ action potential ยาวนานAmiodarone
ใช้ในภาวะ ventricular arrhythmia รุนแรง
และภาวะ supraventricular arrhythmia เช่น atrial fibrillation
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิดหัวใจเต้นช้าลงเกิด heart block ได้
การทำงานของตับ ไต ผิดปกติ
Class IV กลุ่มยาต้านแคลเซียม : verapami
กลไกการออกฤทธิ์
ทำ ให้หัวใจเต้นช้าลง โดยยบัยับยั้งที่SA และ AV nod
ผลข้างเคียง
การเต้นของหัวใจช้าลง หัวใจหยุดเต้น หัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตลดลง ปวดศีรษะ มึนงง เวียนศีรษะ ท้องผูก
อาการบวมของอวัยวะส่วนปลาย เช่น ขา เท้า
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
กลไกการแข็งตัวของเลือด
ขั้นที่ 1 มีการสร้าง thromboplastin จากปัจจัยภายใน (intrinsic factors) และภายนอก (extrinsic factors)
ขั้นที่ 2 thromboplastin ทําหน้าที่เป็น proteolytic enzyme มาย่อย prothrombin ให้กลายเป็น thrombin
ขั้นที่ 3 thrombin จะทําหน้าที่เป็น proteolytic enzyme มาย่อย fibrinogen เป็น fibrin ซึ่งจะรวมตัวกันกลายเป็น clot
ยาที่มีผลต่อระบบการแข็งตัวของเลือด
antiplatelet drug ยับยั้งการจับกลุ่มกันของเกล็ดเลือด
anticoagulant ยาในกลุ่มนี้จะยับยั้ง การแข็งตัวของเลือดแบะยับยั้งไม่ให้ clot ขนาดใหญ่ขึ้น
Heparin
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่มการออกฤทธิ์ของ antithrombin III ในการยับยั้งการทำงานของ thrombinfactor Xa, IXa, XIa, XIIa และ Kallikrein
ข้อห้ามใช้ยา
Heparin ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยานี้
ผู้ป่วยที่มีภาวะเกร็ดเลือดตํ่าขั้นรุนแรง
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ชนิดรับประทาน (Oral anticoagulant )
เป็นยารับประทานเพื่อยับยั้งการแข็งตัวของเลือด
ไม่มีผลในการแข็งตัวของเลือดภายนอกร่างกาย
ยาที่นิยมใช้ได้แก่ warfarin หรือ coumadin
ยาที่กระตุ้นให้เกิดการละลายของ throbus
ยาในกลุ่ม thrombolytic drugs จะช่วยละลายclot ที่เกิดขึ้น
ยาละลายลิ่มเลือด
Streptokinase
อาการไม่ที่พึงประสงค์
เลือดออก
เกิดการแพ้และมีไข้ได้
เป็นโปรตีนสร้างจาก β-hemolytic streptococci ไม่มีฤทธิ์เป็นเอนไซม์
Aspirin (ASA)
ใช้เป็นยาแก้ปวดลดไข้
มีฤทธิ์ในการต้านการจับกลุ่มของเกล็ดเลือด
อาการข้างเคียง
พบบ่อย มีผลระคายเคืองกระเพาะอาหาร
ทำให้ภาวะเลือดอกง่ายหยุดยาก
Clopidogrel, Ticlopidine
ยามีผลการยับยั้งการจับกลุ่มกันของเกล็ดเลือด
กลไกการจับกลุ่มกันของเกล็ดเลือด
ทำให้มีการสร้างสารสื่อต่างๆ
ทำให้เกล็ดเลือดจับกลุ่มกันมากขึ้น
ฤทธิ์ยังคงอยู่หลังหยุดยาแล้ว 10 วัน
การระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร
ท้องเดิน
คลื่นไส้
อาเจียน
อาการไม่พึงประสงค์
ผลข้างเคียงของ Clopidogrel พบได้น้อยว่า Ticlopidine ทำให้เกิดภาวะ agranulocutosis
ข้อห้ามใช้
หญิงตั้งครรภ์, ให้นมบุตร
active bleeding,
GI bleeding
platelet ต่่ำ
leukopeni