Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการในระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
กลุ่มอาการในระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ปวดหลังเรื้อรัง
สาเหตุ
1.ข้อต่อกระดูกสันหลังเสื่อม
2.กระดูกหลังเสื่อมทับเส้นประสาท
3.ปวดจากหมอนรองกระดูกหลัง
4.ปวดจากกล้ามเนื้อหลังอักเสบ
เกิดจากการยกของหนัก ยกของในท่าที่ไม่ถูกต้อง ในกล้ามเนื้อหลังมากเกินทำให้กล้ามเนื้อมีความตึงเครียด
อาการ
ปวดมากกว่า 12 week หรือ 3 เดือน
ปวดตึงบริเวญกล้ามเนื้อ ปวดหลังส่วนล่าง ใต้ชายโครงลงไปถึงสะโพก ปวดเวลาขยับ อาจปวดร้างลงขา
การซักประวัติ
ซักประวัติทั่วไป สิ่งที่บ่งชี้อาการปวด เช่น การได้รับบาดเจ็บ กิจวัตรประจำวัน
การักษา
ปรับเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันการใช้หลังอย่างถูกวิธีการปรับเปลี่ยนอิริยาบถ
ถ้ามีอาการปวดมากให้ยา
การที่ได้นอนพัก
กายภาพบำบัดซึ่งส่วนใหญ่จะเน้นการเพิ่มความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อหน้าท้อง
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ปวดเอว(Flank Pain)
สาเหตุ
เป็น 3 กลุ่มใหญ่
1.ปวดเอวเกิดขึ้นที่เนื้อไต
กรวยไตอักเสบ
ฝีที่ไต
ภาวะไตขาดเลือด
ภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
เนื้องอกที่ไต
2.ปวดเอวที่ไม่ได้เกิดขึ้นที่ไต
นิ่วในไต
ทางเดินปัสสาวะตีบแคบ
กระเพาะส่วนคอปัสสาวะส่วนคออุดตัน
3.อาการปวดเอวอื่นๆ
การบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูก
การบาดเจ็บเส้นประสาท
การติดเชื้อที่อวัยวะภายในช่องท้อง
โรคที่เกี่ยวกับทรวงอก ดช่นวัณโรค
การวินิจฉัย
-ตำแหน่งหรือบริเวณที่เกิดอาการปวดเอว
-ช่วงที่เริ่มปวดเอว
-ลักษณะของอาการปวด
-ความถี่และระยะเวลาที่เกิดอาการ
-อาการอื่นที่เกิดขึ้นร่วมด้วย
การรักษา
ปวดเอวมีสาเหตุมาจากปัญหาสุขภาพที่หลากหลายโดยวิธีรักษาปัญหาสุขภาพเหล่านั้นแตกต่างกันไป
-เบื้องต้นผู้ป่วยทุกรายควรพักผ่อนให้เพียงพอ
-ผู้ที่ปวดเอวจากกล้ามเนื้อหดเกร็งอาจต้องพักผ่อนควบคู่ไปกับการทำกายภาพบำบัด
-รับประทานยาพาราเซตามอลหรือยาต้านอักเสบชนิดไม่ผสมสเตียรอยด์ (Nonsteroidal Anti-Inflammatory Drug: NSAIDs) เพื่อลดอาการปวด
การตรวจร่างกาย
กดหรือเคาะบริเวณเอวเพื่อตรวจสอบตำแหน่งปวด ตวจเลือด ปัสสาวะ อัลตราซาวด์ เอกซเรย์ ส่องกล้องตรวจกรัเพาะปัสสาวะ
กระดูกหัก(Fracture bone)
1.Simple fracture / Closed fracture
2.Compound fracture / Open fracture
อาการ
บริเวณที่หัก บวม เขียว คล้ำ เจ็บปวด เคลื่อนไหวลำบาก อาจผิดรูป
สาเหตุ
อุบัติเหตุ
การักษา
หากตรวจแล้วสงสัยว่ามีกระดูกหักควรส่งโรงพยาบาลและควรได้รับการปฐมพยาบาลเช่นห้ามเลือดหรือดามกระดูกส่วนที่หักไว้
ภาวะเส้นประสาทมีเดียนถุกกดทับ (Carpal Tunnel syndrom)
CTS คือกลุ่มอาการประสาทมือชา เส้นประสาทของมือถูกบีบอัดหรือกดทับภายในข้อมือ เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้างมือหรือการใช้งานมืออย่างไม่เหมาะสม
การรักษา
-การปรับการทำงานโดยหลีกเลี่ยงการใช้งานบริเวณข้อมือไม่ให้มากจนเกินไป
-การดามข้อมือเพื่อลดการใช้งาน
-รับประทานยาต้านการอักเสบกลุ่มที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
สำหรับผู้ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยวิธีดังกล่าวอาจทำการรักษาด้วยการผ่าตัดเพื่อทำให้ช่องแคบที่เส้นประสาทมีเดียนทอดผ่านกว้างขึ้นเป็นการลดการกดเบียดของเส้นประสาทมีเดียน
อาการปวดคอ
สาเหตุ
อริยบทหรือท่าทางที่ผิดปกติ เช่น การก้มคอทำงานทั้งวัน
ภาวะคอเคล็ด
ภาวะกระดูกคอเสื่อม
ภาวะกระดูกคออักเสบ
ภาวะเครียด
อาการปวดคอที่เป็นอาการปวดร้าวมาจากอวัยวะอื่นๆ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย การตรวจทางภาพรังสี
การรักษา
-ระวังและหลีกเลี่ยงอิริยาบทหรือท่าทางต่าง ๆ ที่ต้องมีการก้มและเงยคอบ่อย ๆ
-ใช้กระเป๋าน้ำร้อนหรือผ้าชุบน้ำร้อนประคบบริเวณคอ
-อาจรับประทานยาแก้ปวด
-ในรายที่มีอาการปวดเรื้อรังการทำกายภาพบำบัดการใช้ปลอกคอ
-การบริหารกล้ามเนื้อคอหาทางออกกำลังกายหรือทำงานอดิเรกเพื่อผ่อนคลายความเครียด
อาการปวดเข่า
เข่าเป็นข้อที่ใหญ่สุดในร่างกาย ทำให้ต้องแบกรับน้ำหนักตัว ในระยะแรกจะเป็นๆหายๆและปวดมาเมื่อใช้ข้อเข่า เช่นการยืนนานๆหรือการเดินขึ้นลงบรรได
การรักษา
ในกรณีที่มีอาการบวมหรือปวดข้อมากภายหลังได้รับปรึกษาแพทย์
ในรายที่มีข้อเข่าบวมหรือเคยมีประวัติข้อเข่าบวมควรปรึกษาแพทย์
ในรายที่รับประทานยาแก้ปวดเช่นพาราเซตามอลหรือแอสไพรินมาประมาณ 5-7 วันแล้วอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์
ในรายที่มีน้ำหนักตัวมากควรพยายามลดน้ำหนักเพื่อลดแรงกดที่กระทำต่อข้อ
ในรายที่เป็นมานานและกล้ามเนื้อต้นขาลีบควรทำกายภาพบำบัดเพื่อลดอาการเจ็บปวดและเป็นการเพิ่มความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อ
สาเหตุ
-การบาดเจ็บหรือเกิดอุบัติเหตุ -กระดูกอ่อนของกระดูกสะบ้าเสื่อม -ถุงน้ำรอบข้อเข่าอักเสบ -อาการปวดเข่าภายหลังข้อเข่าอักเสบ -ข้อเข่าอักเสบ -โรคข้อเข่าเสื่อม -ปุ่มกระดูกหน้าแข้งอักเสบ -กระดูกสะบ้าเคลื่อน