Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Genetics, โครโมโซม, work , 7 (1) , 6 (1) , ว - Coggle Diagram
Genetics
ส่วนขยายเมนเดล Extensions of Mendelian Genetics
Sex influence
(ลักษณะที่ขึ้นกับอิทธิพลของฮอร์โมน)
หัวล้าน
ชาย
BB, Bb = ล้าน
bb = ไม่ล้าน
หญิง
BB = ล้าน
Bb, bb = ไม่ล้าน
Polygene
(กลุ่มของยีน ตั้งแต่ 2 ยีนขึ้นไป
ควบคุมลักษณะ 1 ลักษณะ)
สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการแสดงของฟีโนไทป์
ลักษณะแปรผันต่อเนื่อง
ความสูง, สีผิว
Multiple alleles
(1 ยีนมีมากกว่า 1 อัลลีล)
Blood group(ABO)
หมู่เลือด A : IAIA IAi
หมู่เลือด B : IBIB, IBi
หมู่เลือด O : ii
หมู่ AB : IAIB
Co-dominance
( ข่มร่วม )
Blood group MN
MM = หมู่ MM
MN = หมู่ MN
NN = หมู่ N
Sex limited
(ลักษณะที่แสดงออกเฉพาะบางเพศ)
เป็นผลจากฮอร์โมน
การผลิตน้ำนม(สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมตัวเมีย)
แสดงออกในเพศใดเพศหนึ่ง
Sex-linked gene
X-linked gene
X-linked dominance gene
XAX_ = เป็นโรค
X-linked recessive gene
XaXa = เป็นโรค
Y-linked gene
XYa = เป็นโรค
Incomplete dominance
( ข่มไม่สมบูรณ์ )
ภาวะ Familial hypercholesterolemia
LRLr = LDL receptor ปานกลาง
LrLr = LDL receptor น้อย
LRLR = LDL receptor มาก
สีของดอก Snapdragon
rr = สีขาว
RR = สีแดง
Rr = สีชมพู
Overdominant
( เด่นเกิน )
Sickle cell anemia
AA , aa : เป็นโรค
Aa : ไม่เป็นโรค
Epistasis
(ยีนตำแหน่งหนึ่งไปมีอิทธิพลต่อยีนหนึ่ง)
สีขนสุนัข
Mendelian genetics
กฎข้อที่ 2 Law of Independent Assortment
“ ในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ จะมีการรวมกลุ่มของหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม (ยีนเดียวของทุกยีน) ซึ่งการรวมกลุ่มนี้เกิดขึ้นอย่างอิสระ ”
ศึกษาถั่วลันเตา
สีของดอก
สีของเมล็ด
ความสูงของลำต้น
ลักษณะของฝัก
ลักษณะของเมล็ด
ตำแหน่งของดอก
สีของฝัก
กฎข้อที่ 1 Mendel’s Law of Segregation
“ ยีนแต่ละคู่ที่ควบคุมแต่ละลักษณะทางพันธุกรรม
ของสิ่งมีชีวิต จะแยกตัวจากกันเป็นอิสระไปสู่เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์ ”
ส่วนขยายไบโนเมียล
จากสูตร (p+q)^n
โดยที่
p = โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์หนึ่ง
q = โอกาสที่จะเกิดอีกเหตุการณ์หนึ่ง
n = ขนาดของกลุ่มที่เกี่ยวข้อง
ความน่าจะเป็น
กฎการบวก (Addition Law)
P(เหตุการณ์ A หรือ B อย่างใดอย่างหนึ่ง) = P(A) + P(B)
กฎการคูณ (Multiplication Law)
โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ A และ B พร้อมกัน = P(A) x P(B)
การคำนวณหาอัตราส่วนทางพันธุศาสตร์
การหาชนิดและอัตราส่วนของเซลล์สืบพันธุ์
จำนวนชนิดของเซลล์สืบพันธุ์ = 2n
n คือ จำนวนคู่ของยีนในสภาพ heterozygous
การคำนวณหาชนิดและอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์
การสร้างเป็นตาราง (punnet square)
การใช้สูตร
ชนิดของจีโนไทป์ = 3n
ชนิดของฟีโนไทป์ = 2n
n คือ จำนวนคู่ของยีนที่อยู่ในสภาพ heterozygous
ลักษณะทางพันธุกรรมในมนุษย์
รูปร่าง (ตามตำแหน่ง Centromere)
Acrocentric
กลุ่ม G
โครโมโซมแท่งที่ 21 และ 22
โครโมโซม Y
กลุ่ม D
โครโมโซมแท่งที่ 13 14 และ 15
Submetacentric
กลุ่ม C
โครโมโซมแท่งที่ 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12
โครโมโซม X
กลุ่ม E
โครโมโซมแท่งที่ 16 17 และ 18
กลุ่ม B
โครโมโซมแท่งที่ 5 และ 4
Telocentric
Metacentric
กลุ่ม A
โครโมโซมแท่งที่ 1, 2 และ 3
กลุ่ม F
โครโมโซมแท่งที่ 19 และ 20
ยีนส์
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนส์
Autosome
Recessive
Phenylketonuria
Sickle Cell Disease
Alpha Thalassemia
Beta Thalassemia
Cystic Fibrosis
Albinism (โรคผิวเผือก)
Familail hypercholesterolemia (income.)
หรือ ภาวะไขมันในเลือดสูง
Dominant
Polydectyly
มะเร็งผิวหนังเมลาโนมา
Neurofibromatosis
(โรคท้าวแสนปม)
Lynch Syndrome
(มะเร็งลำไส้ใหญ่)
EBS (เด็กดักแด้บางชนิด)
Achondroplasia
Diabetes (โรคเบาหวาน)
ชนิด MODY 1
Sex-linked gene
X-linked
Recessive
Ectodenmal dysplasia หรือ โรคสังข์ทอง
(หลายแบบ)
G6PD
Color Blindness (โรคตาบอดสี)
DMD (โรคกล้ามเนื้อลีบแบบดูเชน)
Hemophilia
Dominant
Hypertrichosis
Fragile X Syndrome
Hyprophoshatemic Ricket
(โรคกระดูกอ่อนชนิดต้านวิตามินดี)
Y-linked
Hair Earpinnae (โรคขนยาวที่ใบหู)
การนำไปประยุกต์ใช้
พันธุวิศวกรรม
(genetic engineering)
พันธุวิศวกรรมทางการศึกษาวิจัยวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
พันธุวิศวกรรมทางอุตสาหกรรม เภสัชกรรมและสิ่งแวดล้อม
ฮอร์โมนอินซูลินของคน
ฮอร์โมนโกรท (Growth hormone)
การผลิตวัคซีนและเซรุ่ม
การผลิตเอนไซม์ประดิษฐ์ (Enzyme engineering)
พันธุวิศวกรรมทางการเกษตร
การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
การปรับปรุงพันธุ์พืช
พันธุวิศวกรรมทางการแพทย์
การถ่ายฝากยีนของโกลบินปกติเข้าไปในเซลล์ไขกระดูก
การวินิจฉัยโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส
การรักษาโรค Sever combined Immunodeficiency (SCID) ด้วยการทำยีนยีนบำบัด
พันธุวิศวกรรมทางด้านนิติวิทยาศาสตร์
การใช้พันธุศาสตร์เพื่อศึกษาค้นคว้าหายีนและหน้าที่ของยีน
โครโมโซม
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากโครโมโซม
N. ขาด
Turner's Syndrome (45, X0)
N. เกิน
Jacobs Syndrome (XYY)
Patau's Syndrome (+13)
Klinefelter’s Syndrome (XXY)
Down Syndrome (+21)
Edward's Syndrome (+18)
โครงสร้างผิดปกติ
Cri-du-chat Syndrome