Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี :check:
ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อน (preprocessor statements)
ฟังก์ชันหลัก (main function หรือ function main())
ฟังก์ชัน (functions)
รหัสต้นฉบับ (source code)
ข้อความสั่งประกาศตัวแปรเฉพาะที่ (local declaration statements)
การแปลและกระทําการโปรแกรม (program compilation and execution)
ข้อความสั่งหมายเหตุ (comment statement)
ตัวแปร (variables) :!:
กฎการตั้งชื่อตัวแปร
การตั้งชื่อตัวแปรมีข้อกําหนดดังนี้
ประกอบด้วย a ถึง z, 0 ถึง 9 และ _ เท่านั้น
อักขระตัวแรกต้องเป็น a ถึง z และ _
ห้ามใช้ชื่อเฉพาะ
ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก มีความหมายที่แตกต่างกัน
ยาวสูงสุด 31 ตัวอักษร
นิพจน์ (expressions) :!!:
ในภาษาซี นิพจน์ หมายถึง สิ่งที่ประมวลผลแล้วสามารถให้เป็นค่าตัวเลขได้ ซึ่งแต่ละนิพจน์จะมีระดับ
ความยากง่ายในการประมวลผลที่แตกต่างกัน
นิพจน์ที่มีระดับการประมวลผลแบบง่ายที่สุด จะประกอบด้วย ตัวแปรเพียงตัวเดียว หรือ ค่าคงที่
นิพจน์ที่มีลักษณะเป็นค่าคงที่
ตัวคงที่ (constant) :check:
การประกาศตัวคงที่
การประกาศตัวคงที่ทําได้ 2 วิธี ดังนี้
ใช้คําหลัก const ตามรูปแบบดังนี้
const ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร = ค่าที่เก็บในตัวแปร;
ใช้ตัวประมวลผลก่อน ตามรูปแบบดังนี้
define ชื่อตัวคงที่ ค่าคงที่
การแสดงผลและการรับค่า :pen:
ลําดับหลีก (escape sequence)
ฟังก์ชัน scanf()
ฟังก์ชัน scanf() เป็นฟังก์ชันจากคลัง ใช้ในการรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ โดยจะบอกเลขที่อยู่ของตัว
แปรในหน่วยความจํา แล้วจึงนําค่าที่รับมาไปเก็บไว้ตามที่อยู่นั้น
ฟังก์ชัน scanf() มีรูปแบบดังนี้
scanf(“%รูปแบบ”, &ตัวแปร);
รูปแบบการแสดงผล (format specifiers)
ฟังก์ชัน printf() เป็นฟังก์ชันจากคลัง ที่มาพร้อมกับตัวแปลโปรแกรมภาษาซี ใช้สําหรับการแสดงผล
มีรูปแบบ ดังนี้
printf (“สายอักขระควบคุม”, ตัวแปร);
ฟังก์ชัน printf()
ข้อความสั่งกําหนดค่า (assignment statement) :lock:
ตัวแปร = นิพจน์;
ข้อความสั่งกําหนดค่า คือ ข้อความสั่งที่ใช้สําหรับ สั่งให้นําผลลัพธ์ของนิพจน์ที่อยู่ด้านขวาของตัว
ดําเนินการเท่ากับ (=) มาเก็บไว้ในตัวแปรที่อยู่ด้านซ้ายของตัวดําเนินการเท่ากับ (=)
เมื่อนํานิพจน์มาเขียนไว้ในโปรแกรมภาษาซีจะกลายเป็นข้อความกําหนดค่า
การคํานวณทางคณิตศาสตร์ :!?:
ในการเขียนโปรแกรม เพื่อทําการคํานวณทางคณิตศาสตร์ จะต้องใช้ตัวดําเนินการต่าง ๆ ซึ่งมี
วิธีการใช้งาน และการทํางาน
การคํานวณ ตัวดําเนินการ ตัวอย่าง การทํางาน
บวก + c = a + b; นําค่าที่เก็บใน a บวกกับค่าที่เก็บใน b แล้ว
เก็บผลลัพธ์ไว้ใน c
ลบ - c = a – b; นําค่าที่เก็บใน b ลบออกจากค่าที่เก็บใน a
แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน c
คูณ
c = a
b; นําค่าที่เก็บใน a คูณกับค่าที่เก็บใน b แล้วเก็บ
ผลลัพธ์ไว้ใน c
หาร / c = a / b; ให้ค่าที่เก็บใน a เป็นตัวตั้ง ค่าที่เก็บใน b เป็น
ตัวหาร แล้วเก็บผลหารไว้ใน c
ถ้าทั้งตัวตั้งและตัวหารต่างเป็นจํานวนเต็ม
ค่าที่เก็บใน c จะเป็นจํานวนเต็ม
แต่ถ้าตัวตั้งหรือตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเป็น
จํานวนจริงที่มีทศนิยม ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น
จํานวนจริงที่มีทศนิยมด้วย
มอดูลัส % c = a % b; ให้ค่าที่เก็บใน a เป็นตัวตั้ง ค่าที่เก็บใน b เป็น
ตัวหาร แล้วเก็บเศษไว้ใน c
ตัวดําเนินการเอกภาค (unary operator) :checkered_flag:
ตัวดําเนินการเอกภาค คือ การใช้ตัวดําเนินการกับตัวแปรตัวเดียว ในที่นี้จะแสดงการใช้ตัวดําเนินการ
2 ตัวกับตัวแปรตัวเดียว ซึ่งมีลักษณะการใช้ 2 แบบ คือ
ตัวดําเนินการเอกภาคเติมหลัง (postfix mode) หมายถึง ตัวดําเนินการเอกภาคอยู่หลังตัวแปร
เช่น a++ หมายถึง ให้เพิ่มค่าให้ตัวแปร a ขึ้นอีก 1
ตัวดําเนินการเอกภาคเติมหน้า (prefix mode) หมายถึง ตัวดําเนินการเอกภาคอยู่หลังตัวแปร
เช่น ++a หมายถึง ให้เพิ่มค่าให้ตัวแปร a ขึ้นอีก 1
ตัวดําเนินการประกอบ (compound operator) :check:
ตัวดําเนินการประกอบ เป็นการใช้ตัวดําเนินการหนึ่งตัวร่วมกับเครื่องหมายเท่ากับ การใช้ตัว
ดําเนินการประกอบจะช่วยให้เขียนข้อความสั่งได้สั้น และเร็วขึ้น
การแปลงชนิดข้อมูล (type cast) :fire:
การแปลงชนิดข้อมูลมีหลายวิธี แต่ที่กล่าวในที่นี้คือ การแปลงชนิดข้อมูลโดยการกําหนดชนิด
ไว้ที่หน้าข้อมูลนั้น
ตัวแปร = (ชนิดข้อมูล) นิพจน์;