Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบฝึกสบัญญัติ 1 - Coggle Diagram
แบบฝึกสบัญญัติ 1
1.ขั้นตอน
การดำเนินคดีแพ่ง
1.หลักเกณฑ์การ
เสนอคดี
ต่อศาล
คดีไม่มีข้อพิพาท
คือกรณีที่ต้องใช้สิทธิทางศาล
2.
หนี้เหนือบุคคล
ฟ้องต่อศาลใด
ศาลที่จำเลยมี
ภู
มิลำเนาอยู่ในเขต
หรือมูลคดี
เกิด
ขึ้นในเขตศาล
3.คำคู่ความ
1.คำให้การ
2.คำร้องสอด
3.คำร้องขอให้ศาลสั่งว่า...เป็นคนไร้ความสามารถ
4.คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้อง
4.กรณีจำเลย
ไม่ยอมรับ
หมายเรียก
และสำเนาคำฟ้อง
วางหมาย
และมีผลทันที
5.หลักเกณฑ์
การฟ้องแย้ง
1.จำเลยอาจฟ้องแย้งมาใน
คำให้การ
2.หรือ
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมคำให้การ
ก็ได้
6.การชี้สองสถาน
คืออะไร
1.การกำหนดประเด็นข้อพิพาท
2.และภาระการพิสูจน์
7.ศาลมีอำนาจสั่ง
จำหน่ายคดี
1.โจทก์ทิ้งฟ้อง
2.โจทก์ถอนฟ้อง
3.ผู้ร้องขัดทรัพย์
ไม่หาประกัน
ตามคำสั่งศาล
4.ไม่มีคู่ความฝ่ายใดมาศาล
ในวันสืบพยาน
5.กรณีศาลไม่มีอำนาจสั่งจำหน่ายคดี
จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ
และขาดนัดพิจารณา
8.หลักเกณฑ์เรื่องดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
ห้ามศาล
และคู่ความทุกฝ่าย
9.ทุนทรัพย์ที่มีสิทธิอุทธรณ์
10.ร้องขอกันส่วน
4.เขตอำนาจศาล
การคัดค้านผู้พิพากษา
คำคู่ความและเอกสาร
1.
การเสนอคำฟ้องต่อศาล
ต้องพิจารณาถึง
1.สภาพคำฟ้อง
2.ชั้นของศาล
3.อำนาจศาล
4.เขตศาล
2.
เขตศาล
คือพื้นที่ทางภูมิศาสตร์
ที่ศาลจะใช้อำนาจได้
ตามกฎหมาย
3.การเสนอคำฟ้อง
เกี่ยวด้วย
หนี้เหนือบุคคล
สามารถเสนอต่อศาลใดได้บ้าง
1.ศาลที่จำเลยมีภูมิลำเนา
ภู-เกิด
2.ศาลที่มูลคดีเกิด
4.ตัวอย่าง
ศาลที่มูลคดีเกิด
มีได้หลายที่ในหนึ่งคดี
5.คำฟ้องเกี่ยวด้วย
อสังหาริมทรัพย์
มีความหมายเพียงใด
1.คำฟ้องที่ขอบังคับเอากับตัวอสังหาริมทรัพย์
ขอบังคับตัว
2.คำฟ้องที่ต้องพิจารณาถึงตัวอสังหาริมทรัพย์
พิจารณาตัว
3.คำฟ้องที่ขอบังคับเอาแก่ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
ขอบังคับสิทธิ
4.คำฟ้องที่ต้องพิจารณาถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
พิจารณาสิทธิ
6.กรณีที่
จำเลยไม่มีภูมิลำเนาในราชอาณาจักร
สามารถฟ้องได้ต่ศาลแพ่ง
หรือต่อศาลที่จำเลยมีทรัพย์สินที่อาจถูกบังคับคดีได้อยู่ในราชอาณาจักร
ภู-แพ่ง
7.บังคับคดี
ศาลที่มีอำนาจในการบังคับคดี
8.เหตุในคำร้องขอให้โอนคดี
ป.วิ.พ. มาตรา 6
การพิจารณาคดีที่ศาลเดิมนั้นไม่สะดวก
หรือถ้ามีการพิจารณาคดีที่ศาลเดิมแล้วจำเลยจะไม่ได้รับความยุติธรรม
9.คำคู่ความ
?
10.การส่งคำคู่ความนอกภูมิลำเนา
1.กรณีที่ฝ่ายที่รับยอมรับ
2.หรือกรณีการส่งที่ได้กระทำในศาล
2.พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
1.อำนาจของคณะกรรมการศาลยุติธรรม
จัดตั้ง
ยุบเลิก
และเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาล
2.จัดตั้งศาล
พรบ.
3.ผู้พิพากษาธรรมดา
แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ
1...ข้าราชการประจำ
2.ดะโต๊ะยุติธรรม
3.และ...สมทบ
4.ดะโต๊ะยุติธรรม
วินิจฉัยชี้ขาด
ข้อกฎหมายอิสลามคดีแพ่ง
เกี่ยวด้ววเรื่องครอบครัวและมรดก
5.ผู้ทำการแทน
ผู้พากษาหัวหน้าศาลจังหวัด
ผู้พิพากษาที่มีอาวุโสสูงสุดในศาลนั้น
ในวันนั้น
6.อำนาจของผู้พิพากษาคนเดียว
ในศาลฎีกา
ออกหมายเรียก
ออกหมายอาญา
ออกหมายสั่ง
ออกคำสั่งใดๆ. ซึ่งมิใช่เป็นไปในทาง
วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดี
ผู้พิพากษาคนเดียวในศาลฎีกาไม่มีอำนาจ
ไต่สวนและมีคำสั่งเกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
7.องค์คณะผู้พิพากษา
ศาลฎีกา
อย่างน้อย 3 คน
8.ศาลจังหวัด
มีคำสั่งรับฟ้อง
คดีที่อยู่ในอำนาจของศาลแขวง
ไว้พิจารณา
ให้ศาลจังหวัดพิจารณาพิพากษาคดีต่อไปจนเสร็จ
3.คู่ความ
และการเสนอคดีต่อศาล
5.อำนาจ
และหน้าที่
ของศาล
6.หลักทั่วไปว่าด้วย
การชี้ขาดตัดสิน
7.คำพิพากษา
และคำสั่ง
8.ผลแห่งคำพิพากษา
และคำสั่ง
9.ค่าฤชาธรรมเนียม
10.หลักทั่วไปของ
กฎหมายลักษณะ
พยานหลักฐาน
11.ภาระการพิสูจน์
การนำพยานหลักฐานมาสืบ
ในประเด็นข้อใดก่อนหรือหลัง
12.การรับฟัง
พยานหลักฐานในคดีแพ่ง
13.หลักทั่วไป
ในการนำสืบพยานหลักฐาน
15.การชั่งน้ำหนัก
พยานหลักฐาน
ในคดีแพ่ง
14.กระบวนการ
นำสืบ
พยานหลักฐาน