Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกัน
และควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การปฎิบัติในการป้องกันและควบคุมการแพร่เชื้อกระจาย
การล้างมือ
Hand washing.
วิธีการล้างที่ดีที่สุดในการลดการติดเชื้อที่เกิดจากการสัมผัสโดยตรงการล้างมือควรกระทำก่อนที่จะปฎิบัติการพยาบาลและหลังการพยาบาลผุ้ป่วย หลังการสัมผัสอุปกรณ์ เครื่องใช้สกปรก ก่อนจับต้องอาหารและทันทีที่เห็นว่ามือเปื้อน ลดจำนวนเชื้อจุลชีพที่อาศัยอยู่บนผิวหนังอันเป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
Alcohol hand rub.
กรณีรีบด่วน ไม่สะดวกในการล้างมือด้วยน้ำและมือไม่ปนเปื้อนสิ่งสกปรกหรือสารคัดหลั่งจากผู้ป่วยให้ทำความสะอาดด้วยมือ แอลกอฮอร์เจล ซึ่งมีน้ำยาแอลกอฮอร์ 70% หรือผสม chlorhexidine 0.5% มีลักษณะเป็นเจลสามารถกำจัดเชื้อโรคออกจากมือทั้งแบคที่เรียแกรมบวกแรมลบ เชื้อรา เชื้อที่ดื้อต่อยาหลายชนิดและไวรัส ด้วยการล้างมือด้วยน้ำยาโดยการบีบน้ำยาประมาณ 10 มิลลิลิตร ถูให้ทั่วมือ ทุกซอกทุกมุมจนน้ำยาแห้ง
Normal หรือ Social hand washing.
การล้างมือเพื่อสุขภาพอนามัยทั่วไปก่อนและหลังการแจกยา ก่อนและหลังระบประทานอาหาร ล้างมือตามขั้นตอนด้วยสบู่ก้อนหรือสบู่เหลว ใช้เวลาการฟอกมืออย่างน้อย 15 วืนาที แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด ซับให้แห้งด้วยกระดาษเช็ดมือหรือผ้าเช็ดมือที่แห้งสะอาด
Hygienic hand washing.
ก่อนและหลังทำกิจกรรมที่ต้องใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ เช่น การสวนปัสสาวะให้ล้างมือด้วยสบู่เหลวผสมน้ำยาทำลายเชื้อ เช่น คลอเฮ็กซ กลูโคเนต 4% ไอโอโดฟอร์ 7.5% ล้างออกด้วยน้ำสะอาดแล้วซับให้แห้งด้วยผ้าแห้งสะอาด
Surgical hand washing.
เป็นการล้างมือเพื้อหัตการ การทำคลอดที่ต้องป้องกันการติดเชื้อให้ล้างมือด้วยสบู่เหลวทำลายเชื้อ ฟอกมือและแขนถึงข้อศอกให้ทั่วนานอย่างน้อย 5 นาทีล้างให้สะอาดและซับด้วยผ้าแห้งที่ปราศจากเชื้อ
การใส่ถุงมือ
ถุงมือจะช่วยป้องกันการติดต่อของเชือ้โรคทั้งทางตรงและทางอ้อม
วัตถุประสงค์ของการใส่ถุงมือ
ป้องกันและควบคุมเชือ้โรคจากตัวเราไปสู่ตัวผู้ป่วยจ่กผู้ป่วยไปสู่บุคคลอื่น
ป้องกันและควบคุมเื้อโรคจากผู้อื่นไปสู่ผู้ป่วย
ป้องกันและะควบคุมผู้สัมผัสเชื้อเป็นพาหะน้ำเชือ้ไปสู่ผู้อื่น
Sterile gloves.
ป้องกันการติดเชื้อไปยังผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ทำหัตการต่างๆ เช่นการผ่าตัด
หยิบจับของปลอดเชื้อ
Clean, Disposable gloves.
ป้องกันสิ่งสกปรกสัมผัสมือ
เมื่อต้องการเคลื่อนย้ายเครื่องมือเครื่องใช้ของผู้ป่วยที่ผ่านการใช้งานแล้วหรือระหว่างให้การพยาบาลผู้ป่วย
การใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก
ป้องกันการได้รับเชื้อโรคจากผู้ป่วยเข้าสู่ทางเดินหายใจและเป็นการป้องกันผู่ป่วยได้รับเชื้อจากผู้อื่นเข้าสู่ทางเดินหายใจ
การใส่เสื้อกาวน์
ช่วยป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคได้โดยทั่วไปจะเปิดด้านหลังและมีเชือกสำหรับผูกที่คอและเอวเสื้อควรจะใหญ่และยาวเล็น้อยเพียงพอที่จะคลุมชุดเครื่องแบบได้มิดชิด ควรเปลี่ยนเสื้อกาวน์ทุกเวร
การป้องกันการติดเชื้อแบบมาตรฐาน
ระมัดระวังการแพร่กระจายของเชื้อโรคที่ใช้กับผู้ป่วยทุกคนเป็นการป้องกัันอันดับแรกเพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโดยระมัดระวังเลือด สารคัดหลั่ง น้ำในร่างกาย
การปฎิบัติที่ปลอดภัยจากการใช้ของมีคม
-ไม่ส่งของมีคมด้วยมือต่อมี
-การปลดหลอดแก้วออกจากสายยางให้ใช้ forceps ปลด
-การเย็บแผลให้ใช้ forceps หยั่งแผลเวลาเย็บ
-ไม่ควรสวมปลอกเข็มคืน แต่ถ้าจำเป็นต้องสวมควรสวมโดยใช้มือเดียว (one hand technique)
-เข็มที่ใช้เจาะเลือดผู้ป่วยให้เก็บทิ้งคนเดียว
การติดเชื้อ
-การรับเชื้อจากสิ่งแวดล้อม
ภาวะปลอดเชื้อและเทคนิคปลอดเชื้อ
Aspsis:การปฎิบัติเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่จะเกิดเครื่องมือ เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม การวางกลยุทธ์ การควบคุมการติดเชื้อ ลดแหล่งของเชื้อโรคและการแพร่กระจายเชื้อ
เทคนิคปลอดเชื้อ Asepic technique.
การกีดกั้นเชื้อชนิดไม่เคร่งครัด Medical asepsis.
เทคนิคการทำให้สะอาด Clean technique
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อด้วยวิธีการแยกเฉพาะ lsolation.
การกีดกั้นเชื้อชนิดเคร่งครัด Surgical asepsis
เทคนิคการทำให้สะอาด (การใส่ถุงมือ gloves) เสื้อคลุม (gown) ที่นึ่งแล้ว
การใช้ปากคีบที่ทำให้ไร้เชื้อหยิบเครื่องมือเครื่องใช้ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
ความหมายของศัพท์
Semi-Critical or intermediate items.: เครื่องมือ เครื่องใช้ที่สัมผัสเยื่อบุ ก่อนใช้ต้องสะอาดไม่มีเชื้อโรคยกเว้นสปอร์ของแบคทีเรีย
Antiseptics.: สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์
Disinfectant.: ยา สารเคมี ใช้ทำลายจุลินทรีย์ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์
Disinfection.: การทำลายเชื้อโรคแต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์
Sterilization.: ขบวนการทำลายเชื้อทุกชนิดรวมทั้งที่มีสปอร์ให้หมดสิ้นไป
Sterile.: สิ่งของหรือเครื่องมือที่ปราศจากเชื้อโรครววมทั้งพวกที่มีสปอร์ให้หมดสิ้นไป
Contamination.: การสัมผัส ปนเปื้อนเชื้อโรค
Critical itema.: เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่สมัผัสกับเยื่อบุก่อนใช้ต้องปราศจากเชื้อ
Non-Critical items.: เครื่องมือ สัมผัสกับผิวหนังภายนอกไม่ได้สัมผัสกับเยื่อบุต่างๆ ของร่างกายกอนใช้ต้องล้างให้สะอาด
หลักพื้นฐานของภาวะปราศจากเชื้อ
ดุแลให้ของปลอดเชื้อนั้นคงความปลอดเชื้อ
1.1 ปากคีบปลอดเชื้อ ใช้สำหรับหยิบจับเคลื่อนย้ายของปลอดเชื้อต้องสะอาดและคงความปลอดเชื้อตลอดเวลา
1.2 การเทนเำยาปลอดเชื้อ เช่น แอลกอฮอร์ 70% ให้ถือขวดน้ำยาสู.กว่าภาชนะปลอดเชื้อประมาณ 6 นิ้ว
1.3 หลีกเลี่ยงการทำน้ำยาหกเปื้อนผ้า ห่อของปลอดเชื้อจะทำให้อุปกรณ์ที่อยู่ในผ้าห่อเกิดการปนเปื้อน
1.4 หลีกเลี่ยงกรพูดคุย ไอ จาม หรือข้ามกรายของปลอดเชื้อเพราะเชื้อโรคมีโอกาสแพร่กระจายไปตามละอองอากาศ
1.5 อุปกรณ์ทางการแพทย์ทุกชนิดที่จะสอด ใส่ผ่านปิวหนังเข้าไปในร่างกายผู้ป่วย จะต้องปลอดเชื้อเช่น อุปกรณ์การฉีดยา
1.6 การเทน้ำยาหรือวางของปลอดเชื้อไม่ควรชิดขอบด้านนอกของภาชนะหรือผ้าห่อของปลอดเชื้อ
1.7 การเปิดผ้าห่อของปลอดเชื้อให้จับมุมบนสุดของผ้าเปิดไปทางด้านตรงข้ามของผู้ทำ เปิด 2 มุมผ้าด้านข้างซ้าย-ขวา สุดท้ายจึงจับมุมผ้าด้านในสุดของห่อผ้าเปิดออกโดยไม่ข้ามกรายปลอดเชื้อ หากเป็นห่อสำเร็จรูป ใช้มือทั้ง 2 ข้งฉีกห่อสำเร็จรูปแยกออกจากกันโดยไม่สัมผัสด้านในของห่อปลอดเชื้อ
Contamination.
2.1 ใช้ปากคีบปลอดเชืื้อในการหยิบชองปลอดเชื้อไม่ใช้ปากคีบที่ไม่ปลอดภัยหรือผ่านการใช้งานแล้วหยิบของปลอเชื้อ
2.2 หากหยิบจับของปลอดเชื้อด้วยมือ หรืออุปกรณ์ที่ไม่ปลอดดดดเชื้อจะถือว่าเครื่งมือเครื่องใช้นั้นเกิดการปนเปื้อน
2.3 การใช้ปากคีบจับของปลดเชื้อไม่ควรใช้ปากคีบหรือหยิบบริเวณขอบของภาชนะ หรือใช้ปากคีบเปิดผ้าห่อของลอดเชื้อเพราะบริเวณเหล่านี้มีโอกาสเกิดการปนเปื้อน
2.4 ของปลดเชื้อที่มีรอยฉีกขาด รอยเปิดสัมผัสกับภายนอกถือว่าไม่ปลอดภัย
2.5 ดูแลของให้ปลอดเชื้อสัมผัสกับอากาศน้อยที่สุดหากเปิดต้องรีบปิดทีนที
2.6 ห่อของปลอดเชื้อที่ปเิดใช้แล้ว แสดงว่าเกิดการปนเปื้อนไม่นำไปรวมกกับของปลอดเชืื้อ
ขอปลอดเชื้อต้องอยู่สูงกว่าระดับเอวและอยู่ในสายตา
3.1 การถือของปลอดเชื้อหรือบริเวณที่วางของปลอดเชื้อจะต้องอยู่สูงกว่าระดับเอวเพื่อให้แน่ใจว่าของปลอดเชื้ออยู่ในสายตาลดโอกาสปนเปื้อน
3.2 เมื่อเปิดของปลอดเชื้อแบ้ว ไม่ละทิ้งหรือหันหลังให้ของปลอดเชื้อเพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีการปนเปื้อนเกิดขึ้จากการวางของนั้นนอกกสายตา
3.3 หากผู้ปฎิบัติเกิดความสงสัยไม่มั่ยใจเกี่ยวกัความปลอดเชื้อกับของใช้นั้น ต้องเปลี่ยนของใหม่ทันที
โรคติดเชื้อ Infection disease.
โรคไข้หวัด
โควิด
โรคติดต่อ Communicable disease.
สามารถแพร่ไปได้
กลไกการป้องกันการติดเชื้อ
ปาก : การกินเข้าไป
ระบบทางเดินปัสสาวะ: การทำความสะอาด หรือ การติดเชื้อ
ระบบทางเดินหายใจ: การสูดดมเข้าไป
ระบบทางเดินอาหาร: จุดต่อากปากที่เกิดจากการเสมหะ
ผิวหนัง: กรสัมผัส
สิ่งนำเชื้อ: เชือ้โรคแพร่กระจายได้จำเป็ต้องมีพาหานในการนำเชื้อ
อากาศ
อาหารและน้ำ
สัมผัสโดยตรงกับคน
วัตถุงต่างๆ
แมลงและสัตว์
บุคคลที่มีเชื้อโรค
หลัก Standard precaution.
สวมเครื่องป้องกันตามความเหมาะสม
-สวมเสื้อคลุม
-ใช้ผ้าปิดปาก จมูก สวมแว่นตา หรือเครื่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่องกันหน้า
-สวมถุงมือ
ระวังการบาดเจ็บจากเข็มและของมีคมต่างๆ
บุคลากรเมื่อมือมีบาดแผล หรือรยถลอกควรหลีเลี่ยงการสัมผัสผู้ป่วยโดยตรงก่อนที่จะใช้เครื่องป้องกันทางการแพทย์
ต้องล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังการใช้ทุกครั้งในการปฎิบัติงานทางการแพทย์หรืแในห้องปฎิบัติการ
เทคนิคการแยก Isolation Technique.
วิธืการแยกผู้ป่วยเพื่อจำกกัดการแพร่กระจายของเชอื้โรคจากผู้ป่วยไปสู่บุคคลอื่น หรือจากบุคคลอ่นไปสู่ผู้ป่วย
การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้
การล้าง Cleansing.
เป็นขั้นตอนแรกที่สำคัญที่ีสุดในการทำลายเชื้อขั้นต่อไปการล้างที่ถูกต้องสามารถขจัดจุลชีพออกจากวัสุเกือบทั้งหมดและเพียงพอสำหรับการทำลายเป็นเชื้อวำหรับเครื่องใช้โดยทั่วไป
วัตถุประสงค์
เพื่อลดจำนวนสิ่งปนเปื้อนที่ติดอยูาบนผิวหนังของเครื่องมือ
เพื่อเป็นการลดสิ่งปนเปื้อนทีี่ติดอยู่บนผิวหนังของเครื่องมือ
ความสกปรกที่ติดแน่นบางอย่างไม่สามารถจะหลุดออกได้
ช่วยลดอันตรายในการหยิบจับอุปกรณ์ของเจ้าหน้าที่เป็นเบื้องต้น
ข้อควรคำนึงในการล้าง
ไม่ทำให้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้สกปรกมากกว่าเดิม เชน การใช้น้ำสกปรกล้าง
สารสบู่เป็นด่างหากล้างออไม่หมดจะช่วยเคลือบเชื้อจุลชีพเอาไว้
ไม่ทำให้อุปรกรณ์ เครื่องใช้ชำรุดเสียหายากการวิธีทำความสะอาด
ดังนั้นหลังจากทำความสะอาดแล้วไม่ควรมีสารตกค้างหลงเหลืออยู่
กำจัดเลือด หนอง เมือก สารคัดหลั่งและอื่นๆออกก่อนทำความสะอาด
เครือ่งใช้
อุปกรณ์ช่วยในการชขัดถู มีขนาดและรูปรร่างต่างกันควรเป็นวัสดุที่มีความหยาบแต่ต้องไม่มีความคมจนเกิดรอยขีดข่วนขึ้นเมื่อถูวัตถุ
สารซักฟอก หรือสบู่
อุปกรณ์สวนใส่เพื่อป้องกันความสกปรกกระเด็นถูกร่างกาย เช่น ถุงมือยาง เอี้ยมพลาสติก ผ้าปิดปากจมูก แว่นตา ( goggle) เป็นต้น
วิธีทำ
ส่วมใส่อุปกรณ์ป้องกันความสกปรกตามความเหมาะสมระมัดระวังไม่ให้เปื้อนบริเวณใกล้เคียง
สำรวจคราบบลาสเตอร์ หากมีไข้ให้เช็ด้วยเบนซินแล้วตามด้วยแอลกอฮอร์
คราบเลือดหรือสารคัดหลั่งติดแน่น ควรเช็ดหรือล้างด้วยน้ำเกลือหรือน้ำร้อนหากยังไม่หลุดให้ล้างด้วยไฮโรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) อีกครั้ง
อุปกรณ์ที่มีข้อห้ามในการใช้ล้างน้ำให้ใช้ผ้าชุบน้ำยาทำความสะอาดบิดหมาดๆ
ในบริเวณที่ไม่สามาถเช็เทำความสะอาดได้เช่น เป็นรูเล็กๆ หรือท่อให้ใช้ไม้ห้านยาวพันสำลีชุบน้ำยา ทำความสะอาดเช็ดในส่วนนั้น
ล้างคราบสิ่งสกปรกและคราบสารผงซักฟอกออกให้หมดโดยใช้น้ำก๊อกที่ไหลซะผ่าน
เช็ดให้แห้งด้วยผ้าสะอาด หรือวางผึ่งลมก่อนเก็บเข้าที่หรือแยกให้ปราศจากจากเชื้อ
ทำความสะอาดอุปกรณ์ขัดล้างให้สะอาด ทำให้แห้งรวมทั้งถุงมือและอ่างน้ำ
การต้ม Boiling.
วิธีการทำลายเชือ้ที่ดี ง่าย ประหยัด และมีประสิทธิภาพดีการต้มเดือดนาน 10 นาที แต่สำหรับเชื้อโรคที่อันตราย เชน ไวรัว HIV องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ต้มน้ำเดือดนาน 20 นาที เพื่อให้มั่นใจและเพื่อให้ประสิทธิภาพที่เชื่อถือได้ ควรจะต้มเดือดนาน 20 นาทีขึ้นไปที่จุดเดือด 100 องศาเซลเซียส
การเตรียมอุปกรณ์ในการต้ม
หม้อต้มที่สะอาดมีฝาปิด เพื่อให้อุณหภูมิสม่ำเสมอขณะต้ม
ใส่น้ำสำหรับการต้มให้มีปริมาณมากพอการใช้น้ำประปาจะทำให้เกิดคราบที่ผิววัสดุ ที่ต้มหรือต้องใช้เวลานานความร้อนจึงจะผ่านกรันเข้าไปได้
การเตียมสิ่งของที่จะต้ม
สิ่งของที่จะต้มควรได้รับการทำความสะอาดดีแล้ว
แยกชนิสิ่งของที่จะต้ม เครื่องมือกับเครื่องใช้เดียวกันเพราะเครื่องแก้วอาจแตกได้
เครื่องใช้มีคมไม่ควรต้ม เพราะจะทำใฟ้เสียความคม
ของที่ใช้กับอวัยวะสะอาด ไม่ควรต้มปนกับของทีใช้กับอวัยวะสกปกรกถ้าเป็นไปได้อาจจะแยกหม้อต้ม
ของที่ต้มครบแล้วต้องเก็บไว้ในภาชนะที่ปราศจากเชื้อหรือสะอาดมีการปดมิดชิดถ้าไม่มีต้องต้มภสชนะและปิดฝาพร้อมของที่ต้มด้วย
หลักสำคัญในการต้ม
น้ำต้องท่วมของทุกชิ้นอย่างน้อย 1 นิ้ว
เครื่องมือเครื่องใช้ที่มีน้ำหนักเบาควรใช้ของที่มีน้ำหนักหนักทับเพื่อให้จมอยู่ใต้น้ำ เช่น ท่อพลาสติดชก เป็นต้น
ปิดฝาหม้อต้ม เริ่มนับเวลาเมื่อน้ำเดือดเต็มที่
ในขณะต้มต้องไม่ปเิดฝาหม้อต้มเพราะจะทำให้อุณห๒ูมิภายในหม้อต้มลดลงและต้องไม่เพิ่มสิ่งของอื่นลงไปเมื่อของที่ต้มอยู่ยังไม่ครบ 15 นาทีหรือ 20 นาที
เมื่อครบกำหนดให้เก็บของที่ต้มแล้วลงในภาชนะที่ปราศจากเชื้อหรือสะอาดมีฝาปิดมิดชิด
การใช้สารเคมี Chemical method
Disinfectant: สารเคมี ยา ใช้ทำายจุลินทรีย์แต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์ จะทำลายเนื้อเยื่อด้วยแะนั้นไม่สามารถใช้กับผิวหนังได้
Antiseptics: สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์สามารถใช้กับสิ่งมีชีวิตได้ปลอดภัย
น้ำยาในการทำลายเชื้อ
แอลกอฮอร์ Alcohols.
อาจทำให้เครื่องมือโลหะเกิดสนิม
ทำลายเชื้อได้ดีแต่ไม่ทำลายสปอร์
อัลดีฮัยด์
ทำลายเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส รา ใน 10 นาที
ทำลายสปอร์แบคทีเรียใน 10 ชั่วโมง
ระคายเคืองผิวหนัง ทางเดินหายใจ ตา
ไดกัวไนด์ Diguannide
สารที่ใช้ Chlorhexidine
ถ้าความเข้มข้นต่ำกว่า 0.2% ไม่สามารถทำลายแบคทีเรียแกรมบวกได้
ฮาโลเจน Halogens.
สามารถทำลายเชื้อโรคได้ตามความเข้มข้นของน้ำยา Hypochlorite lodine. แต่ไม่สามารถทำลายสปอร์แบคทีเรีย
Quartemary ammonium compounds QACs
มีฤทธิ์ทำลายเชื้อน้อย
ฟีนอล Phenols.
สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียเชื้อวัณโรค เชื้อรา ยกเว้นก็แต่เชื้อไวรัสตับอักเสบบีและสปอร์ของแบคทีเรีย
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ Hydrogen peroxide
สามารถทำลายเชื้อโรครวมทั้งไวรัส โดยใช้ Hydrogen peroxide 6% นาน 30 นาที
วิธีการทางกายภาพ
Radiation
ไม่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสเอดส์ ดังนั้นกรณีเชื้อวัณนโรคเมื่อถูกแสงแดดจะถูกทำลายภายใน 1-2 ชั่วโมง ในการทำลายเชื้อจะใช้เวลาประมาณ 6-8 ชั่วโมง
Dry heat or hot air steerilization.
ทำลายโดยใช้ความร้อนแห้งที่อุณหภูมิ 165-170 องศาเซลเซียส ระยะเวลาอย่างน้อย 3 ชั่วโมง การใช้ความร้อนแห้งนี้เหมาะสำหรับเครื่องมือเครื่องใช้ที่เป็นของมีคมไม่ทำให้เสียคม ใช้สำหรับเครื่องแก้วที่ใช้ในห้องปฎิบััติการแต่ไม่เหมาะที่จะใช้กับเครื่องผ้าและยาง
Steam under pressure.
วิธีนี้ไม่เหมาะสำหรับเครื่องมือใช้ที่ทนความร้อนสูงไม่ได้เพราะอุณห๓ูมิที่ใช้อยู่ระหว่าง 121-123 องศาเซลเซียส ภายใต้ความดัน 15-45 นาที
การทำให้ปราศจากเชื้อ
วิธีการทางเคมี
การใช้ก๊าซ Ethylene oxide
คุณสมบัติทำลายเชื้อสูง สามารถทำลายได้ทั้งไวรัสแบคทีเรียรวมทั้งสปอร์ของแบคทีเรีย และใช้อบก๊าซไว้ที่อุณห๓ูมิ 30 องศาเซลเซียว นาน 3 ชั่วโมง เก็บไว้ที่อุณห๓ุมิ 120 องศาเซลเซียส
การใช้ Pracetic acid
เพื่อทำให้ปลอดเชื้อจะต้องใช้เวลารวดเร็ว 35-40 นาที ที่อุณหภูมิ 50-55 องศาเซลเซียส จะต้องล้งน้ำยาออกให้หมดทำให้แห้งด้วยความระมัดระวัง
การใช้ 2% Glutaradehyde.
การทำลายของเชื้อแบคทีเรียป็นสารไม่ทำลายยางหรือพลาสติกทั้งนี้ต้องล้างน้ำยาก่อนนำไปใช้
การหยิบจับของปราศจากเชื้อ
ของที่ปราศจากเชื้อจะอยู่ในถาชนะที่มรฝาปิดหรือห่อ
จะต้องรักษาาของที่หยิบและของที่เหลือให้ปราศจากเชื้อโดยใช้ปากคีบที่มีลักษณะยาวและแช่อย฿่ในกระปุกที่แช่น้ำยาหยิบ
ปากคีบสำหรับหยิบส่งขิงควรเป็นชนิดปลายเป็นร่อง และไม่มีเขี้ยวจึงจะหยิบของได้แน่นเพื่อให้ปราศจากเชื้อปากที่คีบควรแช่อยู่มนน้ำยาตลิดเวลาโดยประมาณ 2/3 ของกระปุก
ปากคีบและกระปุกจะต้องทำความสะอาดด้วยการต้ม นึ่งและเปลี่ยนน้ำยาตามกำหนด
วิธีการใช้ปคีบหยิบของที่ปราศจากเชื้อ
เมื่อหยิบปากคีบออกจากภาชนที่แช่ต้องระมัดระวังไม่ให้ปากคีบแยกออกจากกันและป้องกันไม่ให้ปลายคีบถูกกับปากภาชนะและรอให้น้ำยาหยดออกให้หมดสักครู่
ขณะที่ถือปลายปากคีบอยู่ต่ำเพื่อมิให้น้ำไหลไปสู่บริเวณที่ไม่ปราซจาดเชื้อทำให้ปลายปากคีบสกปรก
ระวังไม่ให้ปากถูกกับภาชนะอื่นๆที่ไม่ปราศจากเชื้อ
เมื่อใช้ปากคีบเสร็จแล้วให้จับตรงกลางด้ามให้ปลายชิดกันแล้วใส่ลงในกระปุกตรงๆ
วิธีการหยิบของในหม้อนึ่ง ในอับ หรือการแบ่งของที่สะอาดปราศจากเชื้อ
เมื่อปิดฝา ถ้าต้องการจะวางกับโต๊ะให้หงายฝาขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้ขอบฝาสัมผัสกับโต๊ะ ถ้าถือไว้ให้คว่ำฝาลงเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อโรคจากอากาศลงไปในฝานั้น
ห้ามเอื้อมข้าม Sterile ที่เปิดฝาไว้และห้ามจับด้านในของฝา
ของที่หยิบออกไปแล้ว แม้ว่าจะไม่ได้ใช้ก็ไม่ควรนำเข้าไปเก็บหม้อนั้นอีก
วิธีห่อของส่งนึ่ง
การเปิดห่อของที่ปราศจากเชื้อ
จุดประสงค์
เพื่อคงความปลอดเชื้อของสิ่งของภายในห่อและผ้าด้านใน
เครื่องใช้
ห่อของปลอดเชื้อ
คลีผ้าห่อบนโต๊ะ สูงระดับเอวให้มุมใดมุมหนึ่งอยู่ด้านผู้ห่อ
วางของไว้ที่ศูนย์กลางของผ้าห่อ
จับมุมผ้าด้านผู้ห่อ วางผาดผบนของและพับมุมกลับเล็กน้อย
ดึงผ้าให้เรียบตึงห่อด้านซ้ายให้มิดของ ดึงให้ตึงและพับมุมเล็กน้อย
จับผ้าที่เหลือมุมสุดท้ายดึงให้ตตึงพับมุมเข้าเล็กน้อยจัดห่อให้มิดชิดไม่หลุด
ตรึงห่อของให้แน่นด้วยเทปกาวและระบุหอผู้ป่วยชื่อสิ่งของวันที่ส่งนึ่งและชื่อผู้ห่อของ
ติด Autoclave tape
วิธีทำ
สำรวจป้ายชื่อห่อของให้ตรงกับวัตถุประสง์การใช้และตรวจสอบความปราถนาเชื้อจาก Autoclave tape
วางห่อของบนโต๊ะที่สะอาดสูงระดับเอวโดยให้มุมนอกสุดของห่อของอยู่ไกลตัว
แกะเทปกาว ป้ายชื่อก่อของที่ระบุวันนึ่งและ Autoclave tape ออก
จับมุมผ้าด้านนอกห่างออกขอบประมาณ 1 นิ้วเปิดมุมแรกออกไปทางด้านตรงข้ามกับผู้เปิด
เปิดมุมผ้าด้านข้างออกทีละด้านแล้วเปิดมุมผ้าด้านในสุด
โรคติดเชื้อโรงพยาบาล Nosocomial infaction
การติดเชื้อ เกิดจากการได้รับเชื้อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจหรือการได้รับพยาบาล การติดเชื้อของบุคคลากรจากการปฎิบัติงาน (มักเกิดขึ้นภายใน 48-72 ชั่วโมง หรือ 2-3 วัน)
วิธีแพร่กระจาย
common vehicle transmission : แพร่กระจายเชื้อจากการที่มีเชื้อจุลชีพ ปนเปื้อนอยู่ในเลือด ผลิตภัฑ์ของเลือด อาหาร น้ำ ยา สารที่ให้น้ำแก่ผู้ป่วย
Vectorborne trans,ission : แพร่กระจายเชื้อโดยแมลง หรือสัตว์นำโรค
Air bone transmission :การสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
Contact transmission
Droplet spread : สัมผัสกับฝอย ละออง น้ำลาย
Direct contact :จากคนสู่คน
Indirect contact: สัมผัสิ่งของหรืออุปกรณ์ที่มีเชื้อปนอยูู๋เป็นปนเปื้อนอยู่ที่เชื้อเข้าสู่ร่างกาย
contact precautions
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกและปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
สวมถุงมือทุกครั้งเมื่อสัมผัสผู้ป่วยทั้งบุคลากรและญาติ
ล้างมือแบบ hygienic handwashing หลังถอดถุงมือและก่อนออกจากห้องแยก
Droplet Precautons
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกและปิดประตูทุกครั้งหลังเขเ้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือผู้ดูแลผู้ป่วยต้องใส่ ผ้าปิดปาก-จมูกชนิด N95
สวมถุงมือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง ทุกครั้งที่สัมผัสผู้ป่วย
ล้างมือแบบ hygienic handwashing หลังถอดถุงมือและก่อนออกจากห้องแยก
ให้ผู้ป่วยใช้ผ้าหรือกระดาษปิดปากเวลา ไอ จามและใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดธรรมดาไว้ตลอดเวลา
ถ้าต้องมีความจำเป็นในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยนอกก้องให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก จมูก ชนิดธรรมดาไว้
จุดประสงค์ในการแยกผู้ป่วย
ป้องกันการแพร่กระจายโรคติดต่อ
ป้องหันการซ้ำเติมโรคที่มีความต้านทานต่ำ เช่น ผู้ป่วยถูกไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ทารกคลอดก่อนกำหนด ซึ่งเรียกว่าการแยกเพื่อป้องกันเชื้อเข้าสู่ผู้ป่วย
ป้องกันการติดโรคจากผู้ป่วย
เพื่อทำลายเชื้อโรคซึ่งเป็นตัวทำให้เกิดโรค
การแยกผุ้ป่วยอาจจำแนกได้ 7 แบบ คือ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อระบบทางเดินอาหาร
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางบาดแผลและผิวหนัง
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคตืดต่อทางเลือดและติดต่อง่าย
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อทางเลือดและน้ำเหลือง
การแยกผู้ป่วยในรายที่สังสัยว่าขะเป็นโรคติดต่อ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง