Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
5.การติดเชื้อเริม (Herpes simplex)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การติดเชื้อครั้งแรกขณะตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการแท้ง
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด ส่วนการติดเชื้อซ้ําขณะตั้งครภร์มีผลกระทบค่อนข้างน้อย
ผลกระทบต่อทารก
ทารกมีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ทารกคลอดก่อนกําหนด
หากทารกมีการติดเชื้อในขณะ ตั้งครรภ์ จะทําให้เกิดความพิการแต่กําเนิดสูง ส่งผลให้ทารกเสียชีวิตได้
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย จะพบตุ่มน้ําใส หากตุ่มน้ําแตกจะพบแผลอักเสบ แดง ปวดแสบปวดร้อนบริเวณ ขอบแผลค่อนข้างแข็ง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การเพาะเชื้อใน Hank’s medium
3.2 การขูดเนื้อเยื่อจากแผลมาทําการย้อมและดูด้วยกล้องจุลทรรศน์
3.3 การทําให้ตุ่มน้ําแตกแล้วขูดบริเวณก้นแผลมาป้ายสไลด์แล้วย้อมสี
1.การซักประวัติประวัติเกี่ยวกับการเคยติดเชื้อเริมมาก่อนหรือไม่
อาการและอาการแสดง
ปวดแสบปวดร้อน และคันบริเวณที่สัมผัสโรค
จากนั้นจะกลายเป็นตุ่มน้ําใสๆ แล้วแตกกลายเป็นแผลอยู่ 2 สัปดาห์
อาการของการติดเชื้อปฐมภูมิมักเกิด 3-7 วันหลังการสัมผัสเชื้อ
ตกสะเก็ด บางรายอาจมีอการคล้ายหวัด ได้แก่ ไข้ต่ำ ๆ อ่อนเพลีย
แนวทางการรักษา
ให้ Acyclovir 200 mg รับประทานวันละ 5 ครั้ง นาน 5-7 วัน
การรักษาในระยะคลอด
1.เฝ้าระวังทารก เพื่อดูอาการของการติดเชื้อเริม
2.เฝ้าระวังทารกเพื่อดูอาการของการติดเชื้อเริม แต่หากว่ารอยโรคอยู่ห่างจากอวัยวะ สืบพันธุ์มากและรอยโรคไม่แตกอาจให้คลอดทางช่องคลอดได้
ปัจจุบันยังไม่มียาที่สามารถรักษา herpes simplex ให้หายขาดได้ การรักษาจึงเป็นการรักษาแบบ ประคับประคองตามอาการ
การตกขาวผิดปกติ
1.3 การตกขาวจากการติดเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial vaginosis)
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย การตรวจทางช่องคลอดและการทํา pap smear จะพบเชื้อแบคทีเรีย ตรวจ ความเป็นกรด-ด่างในช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 ตรวจ Wet smear
3.2 การเพาะเชื้อ (culture) ตกขาวใน columbia agar
การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการมีตกขาวจํานวนมาก ปวดแสบปวดร้อนบริเวณปากช่องคลอดและ ในช่องคลอด ถ่ายปัสสาวะลําบาก
แนวทางการรักษา
ให้ ampicillin 500 มิลลิกรัม วันละ 4 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน
ให้ยา metronidazole 250 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
อาจทําให้เกิดการแท้งติดเชื้อ
มารดาหลังคลอดอาจมีไข้ ปวดท้องมากและมีอาการแสดงของเยื่อบุมดลูกอักเสบ
ถ้าไม่ได้รักษา อาจทําให้มีการติดเชื้อราได้ง่ายขึ้น
ผลกระทบต่อทารก
ทารกแรกเกิดน้ําหนักตัวน้อย และทารกคลอดก่อนกําหนด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้คําแนะนําและการดูแลเหมือนสตรีตั้งครรภ์ทั่วไป
รับประทานยาตามแพทย์สั่งให้ครบ
รักษาความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกไม่ให้อับชื้นโดยใช้น้ําธรรมดา
แนะนําให้พาสามีไปตรวจและรักษาโรคพร้อมกัน
แนะนําการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
ระยะคลอด
ผู้คลอดสามารถคลอดทางช่องคลอดได้ตามปกติ โดยให้การพยาบาลเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ระยะหลังคลอด
ให้การดูแลเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้
เน้นการทําความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ให้สะอาดและแห้งเสมอ
อาการและอาการแสดง
มีอาการคัน ปวดแสบปวดร้อนปากช่องคลอด ในช่องคลอด ถ่ายปัสสาวะลําบาก แสบขัด เจ็บขณะ ร่วมเพศ ตกขาวสีขาว สีเทา หรือสีเหลือง ข้นเหนียว มีกลิ่นเหม็นเน่าเหมือนคาวปลา
1.2 การตกขาวจากการติดเชื้อพยาธิ (Vaginal trichomoniasis)
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย การตรวจภายในช่องคลอด พบตกขาวเป็นฟองสีเหลือเขียว อาจพบจุดเลือดออก เป็นหย่อมๆ ที่ผิวปากมดลูก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการด้วย wet mount smear จะพบเม็ดเลือดขาวจํานวนมาก
การซักประวัติ ได้แก่ประวัติการมีตกขาวจํานวนมาก เป็นฟอง มีกลิ่นเหม็น ร่วมกับอาการคัน
แนวทางการรักษา
หลังไตรมาสแรกไปแล้ว จะรักษาด้วย metronidazole โดยให้รับประทาน 2 กรัม ครั้งเดียว
ให้การรักษาสามีไปด้วย โดยให้ metronidazole หรือ tinidazole รับประทาน 2 กรัม ครั้งเดียว หรือ ornidazole 1.5 กรัม ครั้งเดียว
ยาที่ใช้ได้ผลดีที่สุดต่อการติดเชื้อพยาธิ คือ metronidazole แต่ห้ามใช้ในไตรมาสแรก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การติดเชื้อพยาธิในช่องคลอด มีความสัมพันธ์กับภาวะถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด การเจ็บครรภ์ คลอดก่อนกําหนด
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกคลอดก่อนกําหนด และทารกแรกเกิดมีน้ําหนักตัวน้อย
การพยาบาล
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลผู้คลอดในระยะคลอด โดยให้คลอดทางช่อคลอดได้ตามปกติ
ระยะหลังคลอด
แนะนําให้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้ โดยล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสบุตร
หากอาการยังไม่ดีขึ้น ให้พบแพทย์และดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกเสมอ
ให้การพยาบาลเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
การติดเชื้อพยาธิในช่องคลอด ต้องได้รับการรักษาทั้งสามีและภรรยาให้หาย
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําการเหน็บยา หรือการรับประทานยาตามแผนการรักษาอย่างถูกต้อง
แนะนําให้สามีมารับการรักษาพร้อมกัน
ให้คําแนะนําและการดูแลเหมือนสตรีตั้งครรภ์ทั่วไป
แนะนําการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้แห้งสะอาดเสมอ
แนะนําการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยโดยการสวมถุงยางอนามัย
อาการและอาการแสดง
มีอาการระคายเคืองที่ปากช่องคลอด ในช่องคลอด ปากช่องคลอดบวมแดง และอาจทําให้ปาก มดลูกอักเสบ
อาจมีอาการปัสสาวะแสบขัดหรือบ่อย ปวดแสบปวดร้อนบริเวณต้นขาด้านใน
ลักษณะของตกขาวมีสีขาวปนเทา หรือสีเหลืองเขียว ตกขาวเป็นฟอง มีกลิ่น เหม็น
เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์
หนองใน ปากมดลูกอักเสบแบบมูกปนหนอง หูดหงอนไก่ เชื้อราในช่องคลอด
1.1 การตกขาวจากการติดเชื้อรา
การพยาบาล
ระยะคลอด
สามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ตามปกติ
ระยะหลังคลอด
การดูแลมารดาหลังคลอดเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
เน้นการดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาดและแห้งเสมอ
ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสเทอโรนลดลง
สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดาได้ โดยต้องล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสบุตร
ทารกแรกเกิดอาจมีการติดเชื้อในช่องปาก ซึ่งจะพบมีฝ้าขาวในช่องปาก
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําการใช้ยาทา และยาเหน็บช่องคลอดตามแพทย์สั่ง
การทําความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ เข้าใจสาเหตุของการติดเชื้อ
หากอาการติดเชื้อเป็นซ้ํา ๆ หรือสามีมีอาการแสดง ควรพาสามีให้มารักษาพร้อมกัน
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์ ทําให้อาการของการติดเชื้อราในช่องคลอดเป็นมากขึ้นเป็น 2 เท่า
ผลกระทบต่อทารก
ทารกที่คลอดทางช่องคลอดจากมารดาที่มีการติดเชื้อราในช่องคลอด จะเป็นเชื้อราในช่องปาก
อาการและอาการแสดง
มีอาการคันและระคายเคืองมากในช่องคลอดและปากช่องคลอด
อาจมีอาการเจ็บขณะร่วมเพศ
ประมาณร้อยละ 20 ของผู้ติดเชื้อราจะไม่มีอาการ
มีอาการปัสสาวะลําบาก และแสบขัดตอนสุด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติประวัติอาการและอาการแสดงระยะเวลาที่แสดงอาการ
การตรวจร่างกายการตรวจภายในพบช่องคลอดบวมแดงและตกขาว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การตรวจด้วยวิธี wet mount smear จะพบเซลล์ของยีสต
3.2 การตรวจด้วยวิธีแกรมสเตน (gram stain)
ปัจจัยและปัจจัยเสี่ยง
การควบคุมภาวะเบาหวานไม่ดี มีระดับน้ําตาลในเลือดสู
การรับประทานอาหารที่มีแป้งและน้ําตาลมาก
ภูมิต้านทานของร่างกายถูกกดจากการเป็นโรคเอดส
การสวมใส่ชุดชั้นในที่แน่นเกินไป ทําให้เกิดความอับชื้น เชื้อราเจริญได้ง่าย
การรับประทานยาคุมกําเนิดชนิดที่มีปริมาณฮอร์โมนมาก
การใช้น้ํายาล้างทําความสะอาดช่องคลอด และปากช่องคลอดบ่อยๆ
การได้รับฮอร์โมนสเตียรอยด์ และได้รับยากดภูมิต้านทานทําให้ภูมิต้านทานของร่างกายลดลง
การใส่แผ่นอนามัยโดยไม่เปลี่ยนระหว่างวัน หรือไม่สะอาด
การรับประทานยาปฏิชีวนะเพื่อการรักษาบางชนิดอย่างต่อเนื่อง
ความเครียด การพักผ่อนที่ไม่เพียงพ
11.การตงั้ครรภ์พบว่าขณะตั้งครรภ์ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนสูงขึ้น
ขบวนการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตขณะตั้งครรภ์ ภาวะความเป็นกรด-ด่าง
แนวทางการรักษา
Clotrimazole 100 มิลลิกรัม 1 เม็ด เหน็บช่องคลอดก่อนนอนเป็นเวลา 6 วัน
Miconazole 100 มิลลิกรัม 1 เม็ด เหน็บช่องคลอดก่อนนอนเป็นเวลา 7 วัน
1% Clotrimazole cream 5 กรัม ทางช่องคลอด 6 วัน
ซิฟิลิส (Syphilis)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ทําให้ผิวหนังและเนื้อเยื่ออักเสบ คลอดก่อนกําหนด และแท้งบุตร
ผลต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกําหนด ตายคลอด ทารกแรกเกิดติดเชื้อซิฟิลิส ฯลฯ
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย กรณีที่มีอาการและอาการแสดงอาจตรวจพบไข้ต่ํา ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 ระยะที่เป็นแผลสามารถวินิจฉัยโดยการตรวจหาเชื้อ T. Pallidum จากแผล chancre
3.2 หากไม่มีแผลหรือผื่น การวินิจฉัยทําโดยการตรวจเลือด
การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
ซิฟิลิสระยะที่สอง
แผลกําลังจะหาย หรือหลังจากแผลหายจะพบผื่น กระจายทั่วร่างกาย ฝ่ามือฝ่าเท้า เยื่อบุรวมทั้งอวัยวะสืบพันธุ์
ระยะแฝง
ระยะนี้จะไม่มีอาการใด ๆ
ซิฟิลิสระยะแรก หรือระยะที่หนึ่ง
หลังจากได้รับเชื้อ 10-90 วัน หรือประมาณ 3 สัปดาห์ จะเกิดแผล กลม นิ่ม ขอบนูนแข็ง ไม่เจ็บ เรียว่าแผล chancre
ซิฟิลิสระยะที่ 3 หรือระยะท้ายของโรคซิฟิลิส
ระยะนี้เชื้อจะเข้าไปทําลาย ระบบหัวใจและหลอดเลือด ทําให้เกิด aortic aneurysm และ aortic insufficiency
แนวทางการรักษา
การรักษาในระยะ late latent syphilis จะรักษาด้วย Benzathine Penicillin G Sodium 2.4 ล้านยูนิต ฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะพก 3 สัปดาห์ติดต่อกัน
การรักษาเป็นแนวทางเดียวกับสตรีที่ติดเชื้อซิฟิลิสขณะไม่ตั้งครรภ์
ให้ยา Penicillin G
การรักษาในระยะ primary, secondary และ early latent syphilis รักษาด้วย Benzathine Penicillin G Sodium 2.4 ล้านยูนิต ฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะโพกครั้งเดียว
3.หนองใน (Gonorrhea)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่มีอาการ มีบุตรยาก
มีอาการขณะตั้งครรภ์จะทําให้ถุงน้ําคร่ําอักเสบและติดเชื้อ ถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด แท้งบุตร และการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
ผลกระทบต่อทารก
ติดเชื้อหนองในที่ปากมดลูก ช่องคลอด หรือ อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ ประวัติเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อหนองใน
การตรวจร่างกาย ตรวจทางช่องคลอดจะพบหนองสีขาวขุ่น บางรายอาจพบเลือดปนหนอง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจขั้นต้นโดยการเก็บน้ําเหลืองหรือหนองจากส่วนที่มีการอักเสบ มาย้อมสีตรวจ gram stain smear
อาการและอาการแสดง
มีการอักเสบของปากมดลูกและช่องคลอดทําให้ตกขาวเป็นหนองข้นปริมาณมาก
อาจพบอาการกด เจ็บบริเวณต่อมบาร์โธลิน
หากมีการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะส่วนล่างจะพบ อาการปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะกระปิดกระปรอย เป็นหนองข้น และปัสสาวะเป็นเลือด
แนวทางการรักษา
ตรวจคัดกรองขณะตั้งครรภ์ตามปกติ(VDRL)
หากพบว่ามีเชื้อให้ยา ceftriaxone, azithromycin, penicillin ได้ทั้งรับประทานและฉีดเข้า กล้ามเนื้อ
ทารกแรกเกิดทุกรายควรได้รับยาป้ายตาคือ 1% tetracycline ointment หรือ 0.5% erythromycin ointment หรือ 1% Silver nitrate (AgNO3) หยอดตาตาทารก
ทารกที่พบว่ามีการติดเชื้อหนองในควรได้รับยาปฏิชีวนะ ceftriaxone
การรักษาในสตรีตั้งครรภ์ควรคํานึงว่ามีการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อื่นร่วมด้วยหรือไม่
6.หูดหงอนไก่ (Condyloma acuminate)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
อาจขัดขวางช่องทางคลอด
ทําให้เกิดการตกเลือดหลังคลอด
ผลต่อทารก
ทารกอาจติดเชื้อหูดหงอนไก่ระหว่างตั้งครรภ์และขณะคลอด
บางรายอาจเกิด laryngeal papillomatosis
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ควรวินิจฉัยแยกโรคออกจากซิฟิลิสและ genital cancer
การซักประวัติ ประวัติเคยติดเชื้อหูดหงอนไก่มาก่อน หรือเคยมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่เป็นหูดหงอนไก่
การตรวจร่างกาย จะพบรอยโรคเป็นติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่
อาการและอาการแสดง
มีรอยโรคเป็นติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่ ขนาดแตกต่างกัน มักเกิดบริเวณอับชื้น
แนวทางการรักษา
ทาบริเวณรอยโรคด้วย 85% trichlorracetic acid
ใช้ยาท่าร่วมกับการจี้ laser หรือ cryosurgery หรือ electrocoagulation with curettage
แนะนําการรักษาความสะอาด หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ระยะคลอดหากหูดหงอนไก่มีขนาดใหญ่ อาจพิจารณาผ่าตัดคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
แนะนําให้นําสามีมารับการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค
อธิบายให้เข้าใจถึงการดําเนินของโรค
ระยะคลอด
2.หลีกเลยี่งการทําหัตถการทางช่องคลอด
ดูแลให้ผู้คลอดและทารกได้รับยาตามแผนการรักษา
ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลัก universal precaution
หากไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ระยะหลังคลอด
ประเมินอาการติดเชื้อของทารกแรกเกิด
แนะนําการเลี้ยงบุตร โดยล้างมือให้สะอาดก่อนจับทารกทุกครั้ง
แนะนํามารดาหลังคลอดเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย เครื่องใช้ส่วนตัว
ดูแลให้มารดาหลังคลอดและทารกได้รับยาป้องกันการติดเชื้อตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลมารดาหลังคลอดโดยยึดหลัก universal precaution
แนะนําและดูแลมารดาหลังคลอดปกติ หรือหลังการผ่าตัดคลอด
การติดเชื้อเอชไอวีในสตรีตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ
ระยะนี้ร่างกายจะแข็งแรงเป็นปกติเหมือนคนทั่วไป แต่หากตรวจ เลือดจะพบเชื้อ HIV และ antibody ต่อเชื้อ HIV
สามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได
ระยะติดเชื้อที่มีอาการ
อาจพบอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ ได้แก่ มีอุณหภูมิร่างกายสูง มากกว่า 37.80C เป็นพักๆ หรือติดต่อกันทุกวัน
ระยะเริ่มแรกของการติดเชื้อ HIV
1-6 สัปดาห์หลังติดเชื้อ จากนั้นจะเริ่มมีไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่นขึ้น ต่อมน้ําเหลืองโต
บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว หรือมีฝ้าขาวในช่องปาก
ระยะป่วยเป็นเอดส์
ไข้ ผอม ต่อมน้ําเหลืองโตหลายแห่ง ซีด อาจพบลิ้น หรือช่องปากเป็นฝ้าขาวจากเชื้อรา แผลเริมเรื้อรัง ผิวหนังเป็นแผลพุพอง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV และมีปริมาณ CD4 ต่ํา มีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนจากการติดเชื้อ ฉวยโอกาสได้ง่ายขึ้น
ผลกระทบต่อทารก
มีโอกาสที่ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ทารกคลอดก่อนกําหนด ทารกแรกเกิดน้ําหนักตัวน้อย ทารกมีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์ และทารกตายคลอด
การป้องกันและการรักษา
หลังคลอดหลีกเลี่ยงการให้ยากลุ่ม ergotamine เช่น methergine เป็นต้น
หลีกเลี่ยงการใส่สายยางสวนอาหารในกระเพาะทารกโดยไม่จําเป็น
พิจารณาระยะเวลาที่จะให้คลอด
หลีกเลี่ยงการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
การให้ยาเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาสระหว่างตั้งครรภ์
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อ HIV ทุกรายควรได้รับการดูแลรักษาโดยกุมารแพทย์ที่มีความ เชี่ยวชาญในการให้ยาต้านไวรัส
การให้ยาต้านไวรัสแก่สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV เพื่อลดปริมาณของเชื้อ HIV ในเลือดให้ต่ำที่สุด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจพิเศษ
เช่น ตรวจเสมหะและเอกซเรย์ ในรายที่สงสัยจะเป็นวัณโรค ปอด หรือปอดอักเสบแทรก
การตรวจร่างกาย โดยการตรวจร่างกายทั่วไป
การซักประวัติ เกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ หรือสงสัยว่าจะติดเชื้อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การตรวจเชื้อ HIV (HIV viral testing)
3.2 การตรวจหา antibody ต่อเชื้อ HIV
3.3 การตรวจนับเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 lymphocyte และการตรวจวัดปริมาณ viral load
การพยาบาล
ระยะคลอด
ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลัก universal precaution
ดูแลให้ผู้คลอดและทารกได้รับยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
ทําคลอดด้วยวิธีที่ทําให้เกิดการบาดเจ็บต่อผู้คลอดกและทารกน้อยที่สุด
เตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการช่วยเหลือทารกแรกเกิด
หากปริมาณ viral load ≤ 50 copies/mL
ประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้แก่ ภาวะตกเลือดหลังคลอด ภาวะ ติดเชื้อ ภาวะซีด ฯลฯ
ให้การดูแลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป
ระยะหลังคลอด
ดูแลมารดาหลังคลอดโดยยึดหลัก universal precaution
ให้คําแนะนําแก่มารดาหลังคลอด เพื่อป้งอกันการแพร่กระจายเชื้
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําให้มาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง
ให้ความรู้แก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับหลักมาตรฐานในการควบคุมและป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อ
ให้ข้อมูลแก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการดําเนินของโรค
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์และสามีที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการได้รัยยาต้านไวรัส
แนะนําการปฏิบัติตัวของสตรีตั้งครรภ์
ประเมินระดับความวิตกกังวล ความกลัวของสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV
ให้การพยาบาลด้วยท่าทีที่ปราศจากความรังเกียจ ให้กําลังใจ