Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะในขณะตั้งครรภ์
มีการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคที่สําคัญของระบบทางเดินปัสสาวะ ตั้งแต่ภายในกรวยไตจนถึงท่อไต โดยจะมีขนาดใหญ่ขึ้นมากโดยเฉพาะด้านขวา ร่วมกับการถูกกดทับของมดลูกที่มีขนาดโตขึ้นขณะตั้งครรภ์ ทําให้มีการคั่งของน้ําปัสสาวะในไต ท่อไต ค้างอยู่นาน
มีการเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต ในไตมีระบบการหมุนเวียนของเลือดเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 70-85 ทําให้ไตต้องปรับตัว และเพิ่มหน้าที่การกรองของไตขึ้นประมาณร้อยล45
การพยาบาล
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป และเน้นเรื่องการทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย
ระยะหลังคลอด
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และการป้องกันการกลับเป็นซ้ํา
ให้คําแนะนําเช่นเดียวกับคําแนะนําเพื่อป้องกันการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ หรือป้องกันการกลับเป็นซ้ํา
กรณีที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและได้รับการรักษา ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโรค รวมทั้งสังเกตอาการผิดปกติ
เน้นความสําคัญของการมาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอ เพื่อประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์
ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับสตรีตั้งครรภ์และทารก
ชนิดของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
3.การติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต (Acute pyelonephritis)
4.กลุ่มอาการโรคไตรั่ว หรือโปรตีนรั่วในปัสสาวะ
2.การติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ
ภาวะไตวาย
5.1 ไตวายเรื้อรัง (chronic renal failure)
5.2 ไตวายเฉียบพลัน (acute renal failure)
1.การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแต่ไม่แสดงอาการ
อาการ
อาการและอาการแสดงติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน (Upper UTI) ได้แก่ กรวยไตอักเสบ โดยจะพบปัสสาวะเป็นสีขุ่น หรือสีน้ําล้างเนื้อ เจ็บบริเวณชายโครง
อาการและอาการแสดงติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (Lower UTI) เช่น ท่อปัสสาวะอักเสบ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจะกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัว ทําให้เกิดการแท้ง การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด และ/หรือถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด
ผลต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกําหนด ทารกน้ําหนักตัวน้อย ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ และทารกตายคลอด
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ Escherichia Coli (E. Coli) ที่อยู่รอบท่อปัสสาวะ โดยมีปัจจัยส่งเสริม คือ การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ์ทําให้ท่อไตตึงตัว ทําให้การเคลื่อนไหวและการหดรัดตัวของท่อไตลดลง ประสิทธิภาพในการดูดซึมกลับลดลง ทําให้ปัสสาวะค้างอยู่ในทางเดินปัสสาวะ