Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ ปีพ.ศ2559, นางสาวปัญญาพร ใจสำราญ 61102301077 -…
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ ปีพ.ศ2559
ส่วนที่4
สาระรายหมวด
4.8 การเผยแพร่ความรู้และข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
1.การสื่อสารข้อมูลและข่าวสารด้านสุขภาพสู่ทางสาธารณะจะต้องมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์
2.รักและทุกภาคส่วนต้องให้ความสำคัญกับความรู้ที่เท่าทันด้านสุขภาพมีความแตกฉานด้านสุขภาพ
4.9 การสร้างและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
1.กำลังคนด้านสุขภาพเป็นองค์ประกอบสำคัญในการบรรลุเป้าหมายการมีสุขภาพดีของประชาชน
2.การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพจะต้องสอดรับกับการออกแบบระบบสุขภาพที่สอดคล้องกับความจำเป็นด้านสุขภาพของประชาชนในแต่ละพื้นที่โดยใช้หลักการวางแผนระยะยาว
4.7 การสร้างองค์ความรู้ด้านสุขภาพ
1.ความรู้ด้านสุขภาพเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการกำหนดทิศทางพัฒนาระบบสุขภาพและการพัฒนาสุขภาพ สิ่งจำเป็นต้องมีกลไกทั้งระดับชาติและระดับพื้นที่
2.นโยบายสาธารณสุขด้านสุขภาพทุกระดับจะต้องได้รับการพัฒนาจากฐานความรู้ที่รอบด้านเพียงพอเชื่อถือและอ้างอิงได้
4.6 การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
1.ผู้บริโภคต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพอย่างน้อย 8 ประการ
2.ระบบคุ้มครองบริโภคต้องเป็นไปเพื่อการป้องกันและคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค
3.ผู้บริโภคต้องมีความเข้มแข็งจะหนักรู้เท่าทันสามารถพิทักษ์สิทธิของตนเองรวมถึงการมีกลุ่มเพื่อปกป้องกันละเมิดสิทธิในรูปแบบต่างๆ
4.10 การเงินการคลังด้านสุขภาพ
1.การเงินการคลังด้านสุขภาพจำเป็นต้องเป็นไปเพื่อความยั่งยืนของระบบสุขภาพที่พึงประสงค์โดยมีสถานะทางการเงินที่มีความพอเพียงและมีการบริหารจัดการที่เป็นธรรม
2.การลงทุนด้านสุขภาพต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อระบบสุขภาพในภาพรวมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
3.การเงินการคลังของระบบบริการสาธารณสุขไทยต้องสร้างหลักประกันให้กับประชาชนกลุ่มต่างๆได้รับความเป็นธรรมและสามารถป้องกันไม่ให้ประชาชนในประเทศล้มละลายจากปัญหาสุขภาพได้
4.5 การส่งเสริม สนับสนุน การใช้และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกอื่น
1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพการแพทย์แผนไทยการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกอื่นควรเป็นระบบสุขภาพที่สำคัญระบบหนึ่งที่ต้องได้รับการสนับสนุนให้ เกิดการยอมรับ
2.ต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ในภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน
3.ประชาชนมีสิทธิ์เลือกใช้และเข้าถึงบริการทางการแพทย์แผนไทยแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกอื่น
4.การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพในบริบทของชุมชนต้องมีความสอดคล้องกับวิถีชุมชนระบบนิเวศและเป้าหมายสู่การพึ่งพาตนเอง
4.11 สุขภาพจิต
1.สุขภาพจิตเชื่อมโยงและสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสุขภาพกายสุขภาพสังคมและสุขภาพทางปัญญาทั้งในระดับครอบครัวชุมชนและสังคมโดยสุขภาพจิตที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญของการมีสุขภาวะ
2.การดำเนินงานด้านสุขภาพจิตต้องมุ่งเน้นการส่งเสริมด้านสุขภาพจิตส่งเสริมในการจัดการปัญหาในการดำเนินชีวิตและการทำงานได้อย่างสร้างสรรค์
3.ต้องทำให้ครอบครัวชุมชนเกิดความเข้าใจว่าผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตสามารถอยู่ร่วมและใช้ชีวิตอย่างปกติในสังคมได้
4.4 การบริการสาธารณสุขและการสร้างหลักประกันคุณภาพ
1.การบริการสาธารณะ สุขภาพดีอย่างถ้วนหน้า
2.การจัดบริการสาสุขต้องให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมในการเข้าถึงและการได้รับบริการที่มีคุณภาพ
3.บริการสาธารณสุขต้องเน้นความร่วมมือและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ทุกส่วนของภาครัฐและเอกชนองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นชุมชนและภาคส่วนอื่นๆ
4.บริการสาธารณสุขต้องมีคุณภาพและความปลอดภัยตั้งอยู่บนพื้นฐานของความรู้และจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
4.12 สุขภาพทางปัญญา
1.สุขภาพทางปัญญาเป็นรากฐานของสุขภาพองค์รวมการปฏิบัติเพื่อสุขภาพทางปัญญานำไปสู่ภาวะของมนุษย์ที่มีความรู้ความรู้เท่าทันและความเข้าใจอย่างเงี้ยแกได้ในเหตุผลแห่งความดีและความชั่ว
2.สุขภาพทางปัญญาสัมพันธ์กับทางสุขภาพกายทางจิตทางมีทั้งมิติแนวดิ่งคือการเชื่อมโยงกับมนุษย์ศรัทธาความเชื่อถืออุดมคติหรือคุณค่าสูงสุดที่ตนยึดถือและมิติแนวราบคือการเชื่อมโยงมนุษย์กับสรรพสิ่งรอบตัว
4.3 การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ
1.บุคคลและชุมชนมีสิทธิ์ในการดำรงชีวิตอยู่ภายใต้สิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยสุขภาพ
2.การป้องกันและการควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพต้องให้ความสำคัญกับปัจจัยทางสังคมที่กำหนดสุขภาพโดยใช้มาตรการเชิงรุกที่มีธรรมาภิบาล
4.13 การอภิบาลระบบสุขภาพ
1.การอภิบาลระบบสุขภาพต้องเป็นไปเพื่อความยั่งยืนและทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิผลมีประสิทธิภาพและมีความเป็นเอกภาพมุ่งสู่เป้าหมายในทิศทางเดียวกันโดยยึดหลักประโยชน์ของสาธารณชนเป็นที่ตั้ง
2.การอภิบาลระบบสุขภาพควรผสมผสานอย่างสมดุลระหว่างอธิบายโดยรับการอภิบาลโดยตลาดและการอภิบาลโดยเครือข่ายและเป็นไปอย่างสอดคล้องกับบริบทโลกและสังคมที่เปลี่ยนไปโดยมีรัฐบาลเป็นผู้รับผิดชอบหลักที่ต้องสนับสนุน
3.การอภิบาลระบบสุขภาพต้องให้ความสำคัญกับการบูรณาการการทำงานข้ามภาคส่วนและเรียนรู้การข้ามศาสตร์ในลักษณะของสหสาขาวิชา
4.การอภิบาลระบบสุขภาพต้องให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจที่รวมไปถึงการกระจายทรัพยากรประเภทต่างๆให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเพียงพอ
4.2 การสร้างเสริมสุขภาพ
1.ดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพซึ่งจำเป็นองค์ประกอบของการพัฒนาสุขภาพให้เกิดสุขภาวะทั้งทั่วทั้งสังคมอย่างยั่งยืนจะต้องส่งเสริมและสนับสนุนบุคคลครอบครัวชุมชนและประชาชนกลุ่มต่างๆให้สามารถจัดการหรือพัฒนาสุขภาพของตนเองครอบครัวและชุมชนในกลุ่มได้
2.การพัฒนานโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพต้องเกิดจากการทำงานร่วมกันและเสริมพลังการของทุกภาคส่วนตามแนวทางทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ
4.14 ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่
1.ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่เป็นข้อตกลงร่วมในการกำหนดทิศทางหรือแนวทางปฏิบัติอันจะนำไปสู่สุขภาวะของชุมชน ทั้งนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐควรให้การสนับสนุนและเข้ามามีส่วนร่วม
2.การจัดธรรมนูญสุขภาพพื้นที่จะต้องทานกับสิทธิชุมชนวิถีชุมชนวัฒนธรรมชุมชนปัญญาท้องถิ่นทุนทางชุมชนข้อมูลสุขภาพของชุมชนและหลักการจัดการระบบสุขภาพชุมชนอย่างยั่งยืนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดทำขับเคลื่อนทบทวนและประเมินผลธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ต้องให้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชน
4.1 สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
1.บุคคลพึงได้รับสิทธิด้านสุขภาพที่จำเป็นตามหลักสิทธิมนุษยชนซึ่งไม่จำกัดเฉพาะการเข้าถึงบริการสาสุขเท่านั้นแต่ครอบคลุมถึงปัจจัยอื่นที่มีผลต่อสุขภาพด้วยโดยรัฐมีหน้าที่จัดสวัสดิการ
2.รักต้องเคารพสิทธิด้านสุขภาพของบุคคลและมีหน้าที่ปกป้องคุ้มครองส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคคลได้รับสิทธิด้านสุขภาพโดยไม่เลือกปฏิบัติ
ส่่วนที่1
1.1 แนวโน้มสถานการณ์ที่อาจมีผลต่อระบบสุขภาพใน 10 ปีข้างหน้า
1.สถานการณทางการเมืองการปกครอง
ทําให้การขับเคลื่อนนโยบายต่างๆ มีความล่าช้า สูญเสียโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจ ทําให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลง เกิดความเครียด วิตกกังวลและหวาดระแวงเพิ่มมากขึ้น ส่งผลต่อสุขภาพของคนไทยทั้งจิตใจและร่างกาย
2.สถานการณทางเศรษฐกิจ
ความเหลื่อมล้ําหรือช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนในเรื่องการกระจายรายได้ยังคงเป็นปัญหาใหญ่ในสังคมไทย ส่งผลให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา ในระบบสุขภาพนั้น การเข้าถึงบริการสุขภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ผู้อยู่ในพื้นที่ห่างไกล และกลุ่มคนในชุมชนแออัดยังคงเป็นประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นประจำ
3.สถานการณทางประชากรและสังคม
ในอนาคต สัดส่วนประชากรสูงอายุจะเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้อัตราส่วนการพึ่งพิงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นประชากรวัยทํางานจะต้องแบกรับภาระในการดูแลคนสูงอายุมากขึ้น หากสังคมไม่มีการวางแผนและการเตรียมการอย่างดีทั้งในทางสังคม เศรษฐกิจ และสุขภาพ รวมทั้งการสร้างความเข้มแข็งของคนสูงอายุในการดูแลตนเองหรือได้รับการดูแลจากชุมชนแล้ว ประเด็นเรื่องคนสูงอายุก็จะเป็นประเด็นใหญ่ในระบบสุขภาพอย่างแน่นอน
4.สถานการณ์ทางเกษตรและอาหาร
ที่ประชาชนส่วนหนึ่งในประเทศยังคงขาดความมั่นคงทางอาหาร คนเมืองต้องพึ่งพาอาหารจากการซื้อหา เด็กไทยบางส่วนมีปัญหาทุพโภชนาการ ขณะเดียวกันปัญหาโรคอ้วนและน้ําหนักเกิน อันมีผลโดยตรงต่อการเพิ่มขึ้นของโรคไม่ติดต่อหลายชนิด เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานก็กําลังเป็นภัยคุกคามที่เกิดจากวิถชีีวิตและการบริโภคอาหารที่เปลี่ยนไปของคนไทย
5.สถานการณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและปัญหาสิ่งแวดล้อมจะรุนแรงขึ้น ป่าไม้และป่าชายเลนจะลดลง ประสบปัญหาน้ําท่วม ฝนแล้งและคุณภาพน้ําลดต่ําลง ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม รวมทั้งปัญหาการปนเปื้อนสารเคมีในสิ่งแวดล้อมซึ่งจะส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อาหารอย่างรุนแรง
6.สถานการณ์ด้านสารสนเทศและเทคโนโลยี
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในปัจจุบันเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่การกระจายเครื่องมือแพทย์ก็ยังเป็นไปอย่างไม่ทั่วถึง ทําให้ผู้คนในชนบทยังเข้าไม่ถึงบริการเทคโนโลยีที่จําเป็น
7.สถานการณ์ด้านสาธารณสุข
ความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงยา การใช้ยาเกินจําเป็นหรือไม่สมเหตุผล
1.2 สถานะของธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเป็นเจตจํานงและพันธะร่วมกันของสังคม ี่กําหนดให้ใช้เป็นกรอบและแนวทางในการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดําเนินงานด้านสุขภาพของประเทศ
ส่วนที่3
3.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์และเป้าหมายของระบบสุขภาพ
3.นัดและทุกภาคส่วนต้องให้ความสำคัญกับหลักการทำงานแบบเครือข่ายและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในทุกระดับเพื่อการอภิบาลระบบสุขภาพ
2.รัฐและทุกภาคส่วนต้องพิจารณาระบบสุขภาพว่าเป็นเรื่องที่กว้างขวางและครอบคลุมในทุกมิติทั้งทางกายจิตใจทางปัญญาและสังคมและต้องพัฒนาระบบสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมและเชื่อมโยงกันอย่างสมดุล
1.รัฐและทุกภาคส่วนต้องให้ความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันควบคุมโรคและการจัดการกับปัจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพ
3.3 การจัดให้มีหลักประกันและความคุ้มครองให้เกิดสุขภาพ
1.หลักประกันและความคุ้มครองให้เกิดสุขภาพจะต้องมีความครอบคลุมปัจจัยทั้งหลายที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพทั้งปัจจัยส่วนบุคคลปัจจัยด้านระบบบริการสาสุขและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
2.การสร้างหลักประกันสุขภาพและความคุ้มครองทำให้เกิดสุขภาพต้องเกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม
3.1 ปรัชญาและแนวคิดหลักของระบบสุขภาพ
1.สุขภาพเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของคนทั้งในระดับบุคคลระดับครอบครัวระดับชุมชนและคนในสังคมวงกว้างโดยครอบคลุมถึงระดับการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
2.บุคคลมีความตระหนักรู้และมีบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเองครอบครัวบุคคลในความดูแลและชุมชนไม่ให้เกิดความเสียหายทางสุขภาพ
3.ระบบสุขภาพเป็นระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพโดยมีระบบการบริการสาธารณะสุขเป็นส่วนหนึ่งสุขภาพยังเป็นส่วนหนึ่งของระบบสังคมและระบบความมั่นคงของประเทศ
4.ระบบสุขภาพจะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักคุณธรรมจริยธรรมมนุษยธรรมธรรมาภิบาลความรู้และปัญญาโดยให้ความสำคัญกับคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ความเป็นธรรมความเท่าเทียมกันลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
ส่วนที่2
นิยามศัพท์
สุขภาพ หมายความว่า ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคมเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล (พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐)
ระบบสุขภาพ หมายความว่า ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
นางสาวปัญญาพร ใจสำราญ 61102301077