Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและ ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและ
ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
หลักพื้นฐานของภาวะปราศจากเชื้อ
2.contamination
2.1ใช้ปากคีบปลอดเชื้อในการหยิบของปลอดเชื้อ ไม่ใช้ปากคีบที่ไม่ปลอดภัยหรือผ่านการใช้งานแล้วหยิบของปลอดเชื้อ
2.3การใช้ปากคีบหยิบจับของปลอดเชื้อไม่ควรใช้ปากคีบหยิบของบริเวณขอบภาชนะ หรือใช้ปากคีบเปิดผ้าห่อของปลอดเชื้อเพราะบริเวณเหล่านี้มีโอกาาสเกิดการปนเปื้อน
2.6ห่อของปลอดเชื้อที่เปิดใช้แล้ว แสดงว่าเกิดการปนเปื้อนไม่นำไปรวมกับของปลอดเชื้อ
2.2หากหยิบจับขของปลอดเชื้อด้วยมือ หรืออุปกรณ์ที่่ไม่ปลอดเชื้อจะถือว่าเครื่่องมือที่ใช้นั้นมีการปนเปื้อน
2.4ของปลอดเชื้อที่มีรอยฉีกขาด รอยเปิดสัมผัสกับภายนอกถือว่าไม่ปลอดเชื้อ
2.5ดูแลให้ปลอดเชื้อสัมผัสกับอากาศน้อยที่สุดหากเปิดใช้ต้องรีบปิดทันที
1.ดูแลให้ของปลอดเชื้อนั้นคงความปลอดภัย
1.4หลีกเลี่่ยงการพูดคุย ไอ จาม หรือข้ามกรายของปลอดเชื้อเพราะเชื้อโรคมีโอกาสแพร่กระจายไปตามละอองอากาศ
1.5อุปกรณ์ทางการแพทย์ทุกชนิดที่จะสอด หรือ ใส่ผ่านผิวหนึงเข้าไปในร่างกาายผู้ป่ววยจะต้องปลอดเชื้อ เชน อุปกรณ์ที่ใช้ในการฉีดยา
1.3หลีกเลี่ยงการทำน้ำยาหกเปื้อนผ้า ห่อของปลอดเชื้อจะทำให้อุปกรณ์ที่่อยู่ในผ้าห่อเกิดการปนเปื้อน
1.6การเทน้ำยาหรือวางของปลอดเชื้อไม่ควรชิดขอบด้านนอกของภาชนะหรือผ้าห่อของปลอดเชื้อ ให้วางห่างจากขอบนอกของภาชนะหรือผ้าห่อของปลอดเชื้อถัดาประมาณ 1 นิ้ว
1.2การเทน้ำยาปลอดเชื้อ เช่น แอลกอฮอล์ 70% ให้ถือขวดยาสูงกว่าภาชนะปลอดเชื้อประมาณ 6 นิ้ว
1.7การปิดผ้าห่อปลอดเชื้อให้จับมุมบนสุดของผ้าเปิดไปทางด้านตรงข้ามของผู้ทำ เปิด2 มุมผ้าด้านข้างซ้าย-ขวา สุดท้ายจึงจับมุมผ้าด้านในสุดของห่อผ้าเปิดออกโดยไม่ข้ามกรายของปลอดเชื้อ หากเป็นผ้าสำเร็จรูป ใช้มือทั้ง 2 ข้างฉีกห่อสำเร็จรูปแยกออกจากกันโดยไม่สัมผัสด้านในของห่อปลอดเชื้อ
1.1ปากคีบปลอดเชื้อ ใช้สำหรับหยิบจับเคลื่อนย้ายของปลอดเชื้อต้องสะอาดและคงความปลอดเชื้อตลอดเวลา
3.ของปลอดเชื้อต้องอยู่สูงกว่าระดับเอวและอยู่ในสายตา
3.1การถือของปลอดเชื้อหรือบริเวณที่วางของปลอดเชื้อจะต้องอยู่สูงกว่าระดับเอวเพือให้แน่ใจว่าของปลอดเชื้อนั้นอยู่ในสายตา ลดโอกาสเกิดการปนเปื้อน
3.3หากผู้ปฏิบัติเกิดคามสงสัย ไม่มั่นใจเกี่ยวกับความปลอดเชื้อกับของชิ้นนั้นต้องเปลี่ยนเป็นอันใหม่ทันที
3.2เมื่อเปิดของปลออดเชื้อแล้ว ไม่ละทิ้งหรือหันหลังให้ของปลอดเชื้อเพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีการปนเปื้อนเกิดขึ้นจากการวางของของนั้นนอกสายตา
โรคติดเชื้อ Infection disease
ไข้หวัด
โควิด
การปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการแพร่เชื้อกระจาย
การใช้ผ้าปิดปาก -จมูก
ป้องกันการได้รับเชื้อโรคจากผู้ป่วยเข้าสู่ทางเดินหายใจและเป็นการป้องกันผู้ป้วยได้รับเชื้อโรคจากผู้อื่นเข้าสู่ทางเดินหายใจ
การใส่เสื้อกาวน์
ช่วยป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคได้ โดยทั่วไปจะเปิดด้านหลังและมีเชือกสำหรับผูกที่คอและเอว เสื้อควรจะใหญ่และยาวเล็กน้อยเพียงพอที่จะคลุมชุดเครื่องแบบได้มิดชิด ควรเปลี่ยนเสื้อกาวน์ทุกเวร
การใส่ถุงมือ
ถุงมือจะช่วยป้องกันดารติดต่อของเชื้อโรคทั้งทางตรงและทางอ้อม
วัตถุประสงค์
2.ป้องกันและควบคุมเชื้อโรคจากผู้อื่นไปสู่ผู้ป่วย
3.ป้องกันและควบคุมผู้สัมผัสเชื้อเป็นพาหะนำเชื้อไปสู่ผู้อื่น
1.ป้องกันและควบคุมเชื้อโรคจากตัวเราไปสู่ตัวผู่ป่วยจากผู้ป่วยไปสู่บุคคลอืน
sterile gloves
ทำหัตถการต่างๆเช่น การผ่าตัด
้ปองกันการติดต่อเชื้อไไปยังผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
หยิบจับของปลอดเชื้อ
clean, disposable gloves
ป้องกันสิ่งที่สกปรกสัมผัสมือ
เมื่อต้องการเคลื่อนย้ายเครื่องมือใช้ของผู้ป่วยที่ผ่านการใช้งานแล้วหรือระหว่างให้ให้การพยาบาลผู้ป่วย
การป้องกันการติดเชื้อแบบมาตรฐาน
การมีสุขาภิบาลและสุขอนามมัยที่่ดี
หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ
ระมัดระวังการแพร่กระจายของเชื้อโรค
การล้างมือ
Hygienic hand washing
ก่อนและหลังทำกิจกรรมที่ต้องใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ เช่นการสวนปัสสาวะให้ล้างมือด้วยสบู่เหลวผสมน้ำยาทำลายเชื้อ เช่น คลอเฮ็กซดีน กลูโคเนต 4% ไอโอฟอร์ 7.5% ล้างออกด้วยน้ำสะอาดแล้วซับให้แห้งด้วยผ้าที่สะอาด
Surgical hand washing
เป็นการล้างมือเพื่อหัตถการ การทำคลอดที่ต้องป้องกันการติดเชื้อให้ล้างมือด้วยสบู่เหลวทำลายเชื้อ ฟอกมือและแขนถึงข้อศอกให้ทั่วนานอย่างน้อย 5 นาที ล้างให้สะอาดและซับด้วยผ้าที่ปราศจากเชื้อ
Alcohol hand rub
กรณีรีบด่วน ไม่สะดวกในการล้างมือด้วยน้ำ และมือไม่ปนเปื้อนสิ่งสกปรกหรือสารคัดหลั่งจากผู้ป่วยให้ทำความสะอาดมือด้วย แอลกอฮอล์เจล ซึ่งมีน้ำยยาแอลกอฮล์ 70% หรือผสม chlorhxidinr 0.5% มีลักษณะเจล
Hamg washing
วิธีที่ดีที่สุดในการลดการติดเชื้อที่เกิดจากการสัมผัสโดยตรง การล้างมือควรกระทำก่อนที่จจะปฏิบัติการพยาบาลและหลังการพยาบาลผู้ป่วย หลังการสัมผัมอุปกรณ์ เครื่องใช้ที่สกปรก ก่อนจับต้องอาหารและทันทีที่เห็นมือเปื้อน
Normal หรือ Social hand washing
การล้างมือเพื่อสุขภาพอนามัยทั่วไป ก่อนและหลังการแจกยา ก่อนและหลังการรับประทานอาหาร ล้างมือตามขั้นตอนด้วยสบู่ก้อนหรือเหลว ใช้เวลาฟอกอย่างน้อย 15 วินาที แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด ซับมือให้แห้งและสะอาด
การปฏิบัติที่ปลอดภัยจาการใช้ของมีคม
การเย็บแผลให้ใช้ forceps หยั่งแผลเวลาเย็บ
การปลดหลอดแก้วออกจากสายยาง ให้ใช้ forceps ปลด
เข็มที่ใช้เจาะเลือดผู้ป่วยให้เก็บทิ้งคนเดียว
ไม่ควรสวมปลอกเข็มคืน แต่ถ้าจำเป็นต้องสวม ควรสวมปลอกเข็มโดยใช้มือเดียว (one hand technique)
ไม่ส่งของมีคมด้วยมือต่อมือ
การติดเชื้อ Infection
การรับเชื้อจากสิ่งแวดล้อม
ภาวะปลอดเชื้อและเทคนิคปลอดเชื้อ
Asepsis : การปฏิบัตติเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่จะเกิดเครื่องมือ เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม การวางกลยุทธ์ การควบคุม การติดเชื้อ ลดแหล่งของเชื้อโรคและการแพร่กระจายเชื้อ
เทคนิคปลอดเชื้อ Asepic technique
การกีดกั้นเชื้อชนิดไม่เคร่งคัด medical asepsis
เทคนิคการทำให้สะอาด clean technique
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อด้วยวิธีการแยกเฉพาะ Isolation technique
การกีดกั้นเชื้อชนิดเคร่งคัด surgical asepsis
เทคนิคการทำให้สะอาด การใส่ถุงมือ (gloves) เสืื้อคลุม (gown)
การใช้ปากคีบที่ทำให้ไร้เชื้อหยิบเครื่องมือที่สะอาดปราศจากเชื้อ
เทคนิคปราศจากเชื้อ sterile technique
เครื่องมือเครื่องใช้ปราศจากเชื้อ sterile
ความหมายคำศัพท์
Disinfectant : ยา สารเคมี ใช้ทำลายจุลลินทรีย์ ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์
Disinfection : การทำลายเชื้อโรคแต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์ได้
Semi-Critical or Intermediate items : เคื่องมือ เครื่องใช้ที่สัมผัสเยื่อบุ ก่อนใช้ต้องสะอาด ไม่มีเชื้อโรค ยกเว้นสปอร์ของแบคทีเรีย
Sterilization : ขบวนการทำลายเชื้อโรคทุกชนิดรวมทั้งพวกที่มีสปอร์ให้หมดสิ้นไป
Sterile : สิ่งของหรือเครื่องที่ปราศจากเชื้อโรครวมทั้งชนิดที่มีสปอร์
Contamination : การสัมผัส ปนเปื้อนเชื้อโรค
Critical items : เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่สัมผัสกับเยื่อบุก่อนใช้ต้องทำให้ปราศจากเชื้อโรค
Non-Critical items : เครื่องมือ สัมผัสกับผิวหนังภายนอกไม่ได้สัมผัสกับเยื่อบุต่างๆ ของร่างกาย ก่อนใช้ ต้องล้างให้สะอาด
Antiseptics : สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลลินทรีย์
โรคติดต่อ communicable disease
สามารถแพร่ได้
กลไกการป้องกันการติดเชื้อ
ปาก การกินเข้าไป
ผิวหนัง การสัมผัส
ระบบทางเดินอาหาร จุดต่อจากปากที่เกิดจากการสะสม
ระบบทางเดินหายใจ การสูดดมเข้าไป
ระบบทางเดินปัสสาวะ การทำคามสะอาด หรือ การติดเชื้อ
สิ่งนำเชื้อ : เชื้อโรคแพร่กระจายได้จำเป็นต้องมีพาหนะในการนำเชื้อ
แมลงและสัตว์
สัมผัสโดยตรงกับคน
อากาศ
อาหารและน้ำ
วัตถุต่างๆ
บุคคลที่มีเชื้อโรค
หลัก Standard precaution
2.ระวังการบาดเจ็บจากเข็มและของมีคมต่างๆ
3.บุคลากรเมื่อมีบาดแผล หรือรอยถลอกควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ป่วยโดยตรงก่อนที่จะใช้เครื่องป้องกันทางการแพทย์
1.สวมเครื่องป้องกัน ตามคามเหมาะสม
สวมถุงมือ
ใช้ผ้าปิดปาก จมูก สวมแว่นตา หรือเครื่องกันหน้า
สวมเสื้อคลุม
4.ต้องล้ามือให้สะอาดก่อนและหลังการใช้ทุกคร้งในการปฏิบัติงานทางการแพทย์หรือให้ห้องปฏิบัติการ
เทคนิคการแยก Isolation technique
วิธีการแยกผู้ป่วยเพื่อจำกัดการแพร่กระจายของเชื้อโรคจากผู้ป่วยไปสู่บุคคลอื่น หรือจากบุคคลอื่นไปสู่ผู้ป่วย
การแยกผู้ป่วย
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางระบบทางเดินอาหาร
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางเลือดและติดต่อง่าย
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางเลือดและน้ำเหลือง
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางบาดแผลและผิวหนัง
การแยกผู้ป่วยในรายที่สงสัยว่าจะเป็นโรคติดต่อ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เป็นโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
จุดประสงค์ในการแยกผู้ป่วย
เพื่อป้องกันการติดโรคจากผู้ป่วย
เพื่อทำลายเชื้อโรคซึ่งเป็นตัวทำให้เกิดโรค
เพื่อป้องกันการแพร่กระจายโรคติดต่อ
เพื่อป้องกันการซ้ำเติมโรคผู้ป่วยที่มีความต้านทานต่ำ เช่น ผู้ป่วยถูกไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ทารกคลอดก่อนกำหนด ซึ่งเรียกว่า การแยกเพื่อป้องกันเชื้อเข้าสู่ผู้ป่วย
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
Air bone transmission :การสูดหายใจเอาเชิ้อที่ลอยในอากาศเข้าสู่ระบบเดินทางหายใจ
Contact Transmission
Droplet spread : สัมผัสกับฝอย ละออง น้ำมูก น้ำลาย
Direct contact :จากคนสู่คน
Indirect contact :สัมผัสสิ่งของหรืออุปกรณ์ที่มีเชื้อปนเปื้อนอยู่เป็นการที่เชื้อเข้าสู่ร่างกายผ่านตัวกลาง
Vectorborne transmission : แพร่กระจายเชื้อโดยแมลง หรือสัตว์นำโรค
Contact Precautions
สวมถุงมือทุกครั้งเมื่อสัมผัสผู้ป่วยทั้งบุคลากรและญาติ
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกและปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าและออกจากห้องผู้ป่วย
ล้างมือแบบ hygienic handwashing หลังถอดถุงมือและก่อนออกจากห้องแยก
Common Vehicle transmission :แพร่กระจายเชื้อจากการที่มีเชื้อจุลชีพ ปนเปื้อนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ำ ย สารที่ให้แก้ผู้ป่วย
Droplet Precautions
สวมถุงมือชนิดที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง ทุกครังที่สัมผัสผู้ป่วย
ล้างมือแบบ hygienic handwashing หลังถอดถุงมือและก่อนออกจากห้องแยก
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือผู้ดูแลต้องใส่ ผ้าปิดปาก -จมูก ชนิดN95
ให้ผู้ปป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดธรรมดาตลอดเวลา ยกเว้นเวลรับประทานอาหารและแปรงฟัน
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกและปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าและออกจากห้องผู้ป่วย
ถ้าต้องมีการจำเป็นในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้องให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดธรรมดา
โรคติดเชื้อโรงพยาบาล Nosocomial infection
การติดเชื้อ เกิดจากการได้รับเชื้อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจ หรือการได้รับการพยาบาล การติดเชื้อของบุคลากรจากการปฏิบัติงาน
วิธีห่อของสิ่งหนึ่ง
ดึงผ้าให้เรียบตึง ห่อด้านซ้ายให้มิดของ ดึงให้ตึงและพับมุมเล็กน้อย
ห่อด้านขวาให้มิดของ ดึงให้ตึงพับมุมเช่นกัน เข้าเล็กน้อย
จับมุมผ้าด้านผู้ห่อ วางพาดบนของ และพับมุมกลับเล็กน้อย
จับผ้าที่เหลือมุมสุดท้าย ดึงให้ตึงและพับมุมเล็กน้อยจัดห่อให้มิดชิดไม่หลุด
วางของไว้ที่ศูนย์กลางของผ้าห่อ
ตรึงห่อของให้แน่นด้วยเทปกาว และระบุหอผู้ป่วย ชื่อสิ่งของวันที่ส่ง และชื่อผู้ห่อของ
คลีผ้าห่อของบนโต๊ะสูงระดับเอวให้มุมใดมุมหนึ่งอยู่ด้านผู้ห่อ
ติด Autoclave tape
การเปิดห่อของที่ปราศจากเชื้อ
จุดประสงค์
เพื่อคงความปลอดเชื้อของสิ่งของภายในห่อและผ้าห่อด้านใน
เครื่องใช้
ห่อของที่ปลอดเชื้อ
วิธีทำ
จับมุมผ้าด้านนอก ห่างขอบประมาณ 1 นิ้ว เปิดมุมแรกออกไปทางด้านตรงข้ามกับผู้เปิด
เปิดมุมผ้าด้านข้งออกทีละด้านแล้วเปิดมุมผ้าด้านในสุด
แกะเทปกาว ป้ายชื่อของที่ห่อของที่ระบุวัน และ Autoclave tape ออก
วางห่อของบนโต๊ะที่สะอาดสูงระดับเอวโดยให้มุมนอกสุดของห่อของอยู่ไกลตัว
สำรวจป้ายชือห่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์การใช้และตรวจสอบความปราศจากเชื้อ จากAutoclave tape
การทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช้
การต้ม Boiling
การเตรียมสิ่งของที่จะต้ม
แยกชนิดสิ่งของที่จะต้ม เครื่องมือกับเครื่องแก้วไม่ต้มด้วยกัน
เครื่องใช้มีคมไม่ควรต้ม เพราะจะทำให้เสียความคม
สิ่งของที่จะต้มควรได้รับการทำความสะอาดดีแล้ว
ของที่ต้มครบเวลาแล้ว ต้องเก็บไว้ในภาชนะที่ปราศจากเชื้อหรือสะอาดมีปิดมิดชิด ถ้าไม่มีต้องต้มภาชนะและปิดพร้อมของที่ต้มด้วย
การเตรียมอุปกรณ์ในการต้ม
หม้อต้มที่สะอาดมีฝาปิด เพื่อให้อุณหภูมิสม่ำเสมอขณะต้ม
ใส่น้ำสำหรับการต้มให้มีปริมาณมากพอ การใชช้น้ำประปาจะทำให้เกิดตะกรันในหม้อต้ม
วิธีการทำลายเชื้อที่ดี ง่าย ประหยัด และมีประสิทธิภาพดี กราต้มเดือดนาน 10 นาที แต่สำหรับเชื้อโรคที่อันตราย เช่น ไวรัส HIV ควรต้ม 20 นาทีขึ้นไป
หลักสำคัญในการต้ม
น้ำต้มต้องท่วมของทุกชิ้นอย่างน้อย 1 นิ้ว
เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่มีน้ำหนักเบา ควรใช้ของที่มีน้ำหนักทับเพื่อให้จมอยู่ใต้น้ำ
เมื่อครบกำหนดให้ดก็บขอที่ต้มแล้วลงในภาชนะที่ปราศจากเชื้อหรือสะอาดมีฝาปิดมิดชิด
ปิดฝาหม้อต้ม เริ่มนับเวลาเมื่อน้ำเดือดเต็มที่่
การใช้สารเคมี Chemical method
Aniseptics : สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเตติบโตของจุลลินทรีย์ สามารถใช้กับสิ่งมีชีวิตได้ปลอดภัย
น้ำยาที่ใช้ในการทำลายเชื้อ
ไดกัวไนด์
สารที่ใช้ chlorhexidine
ถ้าความเข้มข้นต่ำกว่า 0.2% ไม่สามารถ ทำลายแบคทีเรียแกรมบวก
ฮาโลเจน
สามารถทำลายเชื้อโรคได้ตามความเข้มข้นของน้ำยา
มีกลิ่นเหม็น โลหะเป็นสนิม ระเหยง่าย ต้องเก็บในภาชนะทึบแสง
อัลดิฮัยด์
ทำลายสปอร์แบคทีเรียใน 10 ชม.
ระคายเคืองผิวหนัง ทางเดินหายใจ ตา
ทำลายเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส รา 10 นาที
ฟีนอล phenols
สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อวัณโรค เชื้อรา
ไม่ควรใช้กับเด็กทารก หรือในบริเวณที่เตรียมอาหาร
แอลกอฮอล์
อาจทำให้เครื่องมือโลหะเกิดสนิม
ทำลายเชื้อได้ดี แต่ไม่ทำลายสปอร์
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ Hydrogen perxide
ทำลายเชื้อโรครวมทั้งไวรัส โดยใช้Hydrogen perxide 6% นาน 30 นาที
Disinfetant : สารเคมี ยา ใช้ทำลายจุลลินทรีย์แต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์ จะทำลายเนื้อเยื่อด้วย ไม่สามารถใช้กับผิวหนังได้
การล้าง Cleansing
เครื่องใช้
อุปกรณ์ช่วยในการขัดถูมีขนาดและรูปร่างต่างๆกัน
อุปกรณ์สวมใส่เพื่อป้องกันความสกปรกกระเด็นถูกร่างกาย
สารซักฟอก หรือสบู่
วิธีทำ
เช็ดให้แห้งด้วยผ้าสะอาดหรือวางผึ่งลมก่อนเก็บเข้าที่ หรือแยกไปทำให้ปราศจากเชื้อ
ล้างคราบสิ่งสกปรกและคราบสารซักฟอกออกให้หมดโดยใช้น้ำก๊อก
ทำความสะอาดอุปกรณ์ขัดล้างให้สะอาด ทำให้แห้งรวมทั้งถุงมือและอ่างน้ำ
1.สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันคามสกปรกตามความเหมาะสม ระมัดระวังไม่ให้เปื้อนบริเวณใกล้เคียง
ข้อคำนึงในการล้าง
ไม่ทำให้อุปกรณ์ เครื่องใช้ชำรุดเสียหายจากวิธีการทำความสะอาด
ไม่ทำให้อุปกรณ์ เครื่องใช้สกปรกมากกว่าเดิม
กำจัดเลือด หนอง เมือก สารคัดหลั่งและอื่นๆออกก่อนทำความสะอาด
วัตถุประสงค์
เพื่อเป็นการลดสิ่งปนเปื้อนที่ติดอยู่บนผิวหนังของเครื่องมือ
ความสกปรกที่ติดแน่นบางอย่าง ไม่สามารถจะหลุดได้
เพื่อลดจำนวนเชื้อโรคบนเครื่องมือให้เหลือปริมาณน้อยที่สุด
ช่วยลดอันตรายนการหยิบจับอุปกรณ์ของเจ้าหน้าที่เป็นเบื้องต้น
เป็นขั้นแรกที่สำคัญที่สุด ในการทำลายเชื้อขั้นต่อไป การล้างที่ถูกต้องสามารถขจัดจุลชีพออกจากวัสดุเกือบทั้งหมดและเพียงพอสำหรับการทำลายเชื้อสำหรับเครื่องใช้โดยทั่วไป