Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ, นางสาวภัทรานิษฐ์…
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อ(Infection)
ทางออกของเชื้อโรคในการแพร่กระจาย
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
ทางเดินปัสสาวะ
อวัยวะสืบพันธ์
เลือด ผิวหนัง
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
Air bone transmission
แพร่กระจายโดยสูดหายใจเอาเชื้อเข้าไป
Vectorborne transmission
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์นำโรค
Contact transmission
Direct contact
แพร่กระจายเชื้อจากคนสู่คน
Indirect contact
สัมผัสกับอุปกรณ์ทางการแพทยที่ปนเปื้อนเชื้อ
Droplet spread
เกิดจากการสัมผัสฝอย ละออง เสมหะ
Common vehicle transmission
เป็นการแพร่กระจายเชื้อที่มี เชื้อจุลชีพปนเปื้อนในเลิอด
อยู่ในเลือด อาหาร น้ำ ยา และสารน้ำ
ความไวของแต่ละคนในการแพร่เชื้อ
ความเครียด
ภาวะโภชนาการ
อ่อนเพลีย
ภูมิแพ้
ภาวะปลอดเชื้อและเทคนิคปลอดเชื้อ
เทคนิคปลอดเชื้อ
การกีดกั้นเชื้อชนิดไม่เคร่งครัด
เทคนิคการทำให้สะอาด
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อด้วยวิธีการแยกเฉพาะ
การกีดกั้นเชื้อชนิดเร่งครัด
เทคนิคการทำให้สะอาด(ที่นึ่งแล้ว)
การใส่ถุงมือ
เสื้อคลุม
ใช้ปากคีบทำให้ไร้เชื้อ
เทคนิคปราศจากเชื้อ
เครื่องมือเครื่องใช้ปราศจากเชื้อ
ความหมายของคำศัพท์
Sterilization
ขบวนการทำลายเชื้อโรคทุกชนิด
Sterile
สิ่งของหรือเครื่องมือที่ปราศจากโรค
Contamination
การสัมผัส ปนเปื้อนเชื้อโรค
Disinfection
การทำลายเชื้อโรคแต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์ได้
Disinfectant
สารเคมีหรือน้ำยาที่ใช้ทำลายจุลินทรีย์ได้
แต่ไม่สามารถทำลายชนิดมีสปอร์ได้
Antiseptics
สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์
Critical items
เครื่องมือที่ใช้กับเยื่อบุที่ต้องทำให้ปราศจากเชื้อก่อน
Semi-critical
เครื่องมือที่ใช้กับเยื่อบุที่ต้องทำให้ปราศจากเชื้อก่อนpdg;ho,ulxviN
Non critical itm
เครื่องมือที่สัมผัสผิวหนังภายนอก ก่อนใช้ต้องล้างให้สะอาด
การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้
การล้าง
เป็นขั้นตอนแรกที่สำคัญมากที่สุดในการทำลายเชื้อ
การล้างที่ถูกต้องสามารถขจัดจุลชีพออกเกือบทั้งหมด
วัตถุประสงค์
เพื่อลดจำนวนเชื้อโรคบนเครื่องมือให้เหลือน้อยที่สุด
เพื่อลดการปนเปื้อนที่ติดอยู่บนผิวของเครื่องมือ
ความสกปรกบางอย่างไม่สามารถหลุดออกได้ ต้องใช้การล้างเพื่อช่วยให้คราบสกปรกหลุดออกไปได้
ช่วยลดอันตรายในการหยิบจับอุปกรณ์ของเจ้าหน้าที่
ข้อควรคำนึงในการล้าง
กำจัดหนอง เมือก เลือด สารคัดหลั่งก่อนล้าง
ไม่ทำให้อุปกรณ์ชำรุดเสียหายจากการล้าง
ไม่ทำให้อุปกรณ์ เครื่องมือสกปรกกว่าเก่า
ไม่ควรมีสารตกค้างอยู่ในเครื่องมือหลังจากการล้าง
เครื่องใช้
อุปกรณ์ช่วยในการเช็ดถู แต่ต้องไม่มีความคม
สารซักฟอก หรือสบู่
อุปกรณ์สวมใส่เพื่อป้องกันความสกปรก
วิธีทำ
สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันความสกปรก
สำรวจคราบลาสเตอร์ ถ้ามีให้ใช้เบนซินเช็ดแล้วตามด้วยแอลกอฮอล์
คราบสารคัดหลั่งติดแน่น ควรเช็ดด้วยน้ำเกลือหรือน้ำร้อน
อุปกรณ์ที่ห้ามใช้น้ำล้าง ให้ใช้ผ้าชุบทำความสะอาด
บริเวณที่ไม่สามารถเช็ดได้ เช่นรูเล็กๆให้ใช้ไม้พันสำลีชุบน้ำยาแล้วเช็ดออก
ล้างคราบน้ำยา และสิ่งสกปรกออกให้หมด
ทำความสะอาดอุปกรณ์ขัดล้าง ทำให้แห้ง
การต้ม
เป็นวิธีทำลายเชื้อที่ดี ง่าย และประหยัด
สามารถทำลายเชื้อได้ ยกเว้นชนิดมีสปอร์
แต่เชื้อโรคที่อันตราย เช่น HIV ต้องต้มนาน 20 นาที
การเตรียมอุปกรณ์ต้ม
หม้อต้มสะอาดที่มีฝาปิด
ใส่น้ำให้ปริมาณมากพอ
การเตรียมสิ่งของที่จะต้ม
สิ่งของที่จะต้มควรล้างสะอาดเเล้ว
แยกสิ่งที่จะต้ม เครื่องมือกับเครื่องแก้วต้องต้มแยกกัน
เครื่องมือมีคมไม่ควรต้ม
ต้องแยกต้มของที่ใช้กับอวัยวะสะอาดและสกปรก
ของที่ต้มครบเวลาแล้ว ให้เก็บไว้ในภาชนะที่ปลอดเชื้อ
หลักสำคัญในการต้ม
น้ำต้องท่วมของทุกชิ้นอย่างน้อย 1 นิ้ว
ขณะต้มต้องไม่เปิดฝาหม้อ
ปิดฝาหม้อ เริ่มนับเวลาเมื่อน้ำเดือด
การใช้สารเคมี
น้ำยาที่ใช้ในการทำลายเชื้อ
แอลกอฮอล์
ทำลายเชื้อได้ แต่ไม่ทำลายสปอร์
อาจทำให้เครื่องมือเกิดสนิม
อัลดีฮัยด์
ทำลายแบคทีเรีย ไวรัส ราใน10นาที
ทำลายสปอร์ใน 10 ชั่วโมง
อาจทำให้ระคายเคืองผิวหนัง ทางเดินหายใจ ตา
ไดกัวไนด์
สารที่ใช้ คือ Chlorhexidine
ถ้าความเข้มข้นต่ำกว่า 0.2%จะไม่สามารทำลายเชื้อได้
ฮาโลเจน
ทำลายเชื้อตามความเข้มข้นของน้ำยาHypochlorite และ Iodine
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ทำลายเชื้อโรครวมไวรัสที่ความเข้มข้น 6% นาน 30 นาที
น้ำยาฟีนอล
ทำลายเชื้อ ยกเว้นสปอร์และไวรัสตับอักเสบบี
กลิ่นแรง ระคายเคืองผิว กัดกร่อนยางและพลาสติก
การทำให้ปราศจากเชื้อ
ทางกายภาพ
Radiation
ใช้แสงอัลตร้าไวโอเลตทำลายเชื้อได้ ยกเว้นไวรัสตับบีและเอดส์
dry heat
.ใช้hot air ovenทำลายเชื้อได้ที่อุณหภูมิ 165-170 อย่างน้อย 3 ชั่วโมง
Steam under pressure
เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยใช้อุณหภูมิ 121-123 องศาในความดัน 15/17ปอนด์ นาน 15-45 นาที
ทางเคมี
ใช้Ethylene oxide
สามารถทำลายไวรัส แบคทีเรีย โดยใช้เครื่องอบที่อุณหภูมิ 30 องศา นาน 3ชั่วโมง
เครื่องปลอดเชื้อต้องอบนาน 8ชั่วโมง อุณหภูมิ 120 องศส
ใช้ 2% Glutaradehyde
สามารถทำลายเชื้อและสปอร์ได้ ไม่ทำลายยางหรือพลาสติก แช่เครื่องใช้นาน 3-10 ชั่วโมง
ใช้peracetic acid
กัดกร่อนสูง ต้องละลายน้ำอุ่นก่อน แช่ ที่อุณหภูมิ50-55องศานาน 35-40นาที
การหยิบจับของปราศจากเชื้อ
วิธีใช้ปากคีบหยิบของปลอดเชื้อ
หยิบปากคีบออกจากภาชนะแช่ ระวังไม่ให้ปากคีบแยกออกจากกัน
ถือให้ปลายปากคีบอยู่ต่ำๆ และไม่ให้สัมผัสกับภาชนะอื่น
วิธีหยิบของในหม้นึ่ง หรืออับ
เมื่อเปิดฝาถ้าวางกับโต๊ะให้คว่ำ ถ้าถือให้หงาย
ของที่หยิบออกไปแล้วไม่ควรนำกลับมาเก็บในหม้ออีก
หลักพื้นฐานของภาวะปราศจากเชื้อ
ดูแลให้ของปลอดเชื้อยังปลอดเชื้อ
ปากคีบต้องสูงกว่าเอว และปลายชี้ลงเสมอ
การเทน้ำยาต้องถือขวดสูงกว่าภาชนะ 6 นิ้ว
เลี่ยงการทำน้ำยาหกใส่ของปลอดเชื้อ
เลี่ยงการพูดคุย ไอ จาม
หากของปลอดเชื้อสัมผัสกับของไม่ปลอดเชื้อให้ถือว่าเกิดการปนเปื้อน
ดูแลให้ของปลอดเชื้อสัมผัสกับอากาศน้อยที่สุด
ห่อของปลอดเชื้อที่เปิดใช้แล้ว ไม่นำไปรวมกับของปลอดเชื้อที่ยังไม่ได้ใช้
ของปลอดเชื้อต้องอยู่สูงกว่าเอว และอยู่ในสายตา
วิธีห่อของส่งนึ่ง
คลี่ผ้าห่อบนโต๊ะ สูงกว่าเอว
วางของที่ห่อไว้ตรงกลางของผ้า
จับมุมผ้าด้านผู้ห่อวางพาดของแล้วพับมุม
ดึงผ้าให้เรียบ ห่อด้านซ้ายให้มิดของดึงตึง แล้วห่อด้านขวาให้มิดของดึงตึง
จับมุมผ้าสุดท้ายดึงตึงแล้วพับมุม ตรึงหอของด้วยเทปกาว และระบุหอผู้ป่วย ชื่อของ วันที่ส่ง และชื่อผู้ห่อ
การเปิดห่อของที่ปราศจากเชื้อ
สำรวจชื่อห่อของให้ตรงกับกับวัตถุประสงค์การใช้
วางห่อของที่โต๊ะสูงกว่าระดับเอว แแกะเทปกาวและป้ายชื่อ
จับมุมผ้าด้านนอก ห่างขอบ 1 นิ้ว เปิดมุมด้านตรงข้าม แล้วเปิดมุมทีละด้าน
การปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการกระจายเชื้อ
การล้างมือ
การล้างมือแบบธรรมดา
ล้างด้วยสบู่ก้อน หรือสบู่เหลว
อย่างน้อย 15 วินาที
หน้าหลังปั้นโป้งปลายข้อ
ล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล
ล้างมือด้วยน้ำยา 10 มิลลิลิตร
ฟอกนาน 30 วินาที
ล้างมือก่อนปฏิบัติการพยาบาลที่ใช้เทคนิคปลอดเชื้อ
ล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยติเชื้อหรือของปนเปื้อน
ล้างมือด้วยน้ำยาที่ผสมยาทำลายเชื้อ อย่างน้อย 30 วินาที
การล้างมือก่อนทำหัตถการ
ให้ล้างด้วยสบู่เหลวทำลายเชื้อ
ฟอกมือถึงข้อศอก อย่างน้อย 5 นาที
การใส่ถุงมือ
ถุงมือปลอดเชื้อ
หยิบจับของปลอดเชื้อ
ทำหัตถการต่างๆ
ป้องกันการติดเชื้อ
ถุงมือสะอาด/ถุงมือใช้ครั้งเดียว
ป้องกันสิ่งสกปรกสัมผัสมือ
เมื่อต้องการเคลื่อนย้ายเครื่องใช้ของผู้ป่วย
การใช้ผ้าปิดปาก-จมูก
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังใช้
ถ้าเป็นชนิดใช้ครั้งเดียวให้หันขอบลวดไว้ด้านบน
หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสผ้าปิดปากและจมูก
การใส่เสื้อกาวน์
กาวน์ผ้า
ใช้กับห้องคลอด
กาวน์กันน้ำ
อาบน้ำคนไข้
คนไข้มีเชื้อสกปรก
การป้องกันเชื้อแบบมาตรฐาน
การมีสุขาภิบาลและสุขอนามัยที่ดี
หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ
การปฏิบัติที่ปลอดภัยจากการใช้ของมีคม
ไม่ส่งของมีคมด้วยมือต่อมือ
เข็มให้เก็บทิ้งคนเดียว
การเย็บแผลให้ใช้foecepsหยั่งแผลเวลาเย็บ
ไม่ควรสวมปลอกเข็มคือน
เทคนิคการแยก
จุดประสงค์
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ป้องกันการติดโรค
ป้องกันการซ้ำเติมโรค
ทำลายเชื้อที่ทำให้เกิดโรค
จำแนกเป็น 7 แบบ
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อระบบทางเดินอาหาร
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อทางบาดแผลและผิวหนัง
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงและติดต่อง่าย
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อทางเลือดและน้ำเหลือง
แยกผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะเป็นโรคติดต่อ
แยกผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
นางสาวภัทรานิษฐ์ ไมตรีจิตต์ ห้อง 2A เลขที่ 55 รหัสนักศึกษา 63123301114